กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสนับสนุนผ้าอ้อมผู้ใหญ่

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา

สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี จังหวัดตรัง

สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี จังหวัดตรัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้บุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ที่มีคะแนนระดับความสามารถในการดำเนินกิจวัตรประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) เท่ากับหรือน้อยกว่า 6 (กลุ่ม ก.) ที่ยังไม่เข้าร่วมโครงการการดูแลสุขภาพระยะยาว (Long Term Care: LTC) ได้รับการสนับสนุนผ้าอ้อมผู้ใหญ่ เพื่อนำไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน

ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย ที่ยังไม่เข้าร่วมโครงการการดูแลสุขภาพระยะยาว (Long Term Care: LTC) ได้รับการสนับสนุนผ้าอ้อมผู้ใหญ่ เพื่อนำไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน

0.00 100.00
2 เพื่อให้บุคคลที่มีภาวะปัญหาการกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้ (กลุ่ม ข.)เข้าถึงบริการสาธารณสุขตามสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมากขึ้น

ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะปัญหาการกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้ เข้าถึงบริการสาธารณสุขตามสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

0.00 100.00
3 เพื่อให้บุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ที่มีคะแนนระดับความสามารถในการดำเนินกิจวัตรประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) เท่ากับหรือน้อยกว่า 6 (กลุ่ม ก.) ที่ยังไม่เข้าร่วมโครงการการดูแลสุขภาพระยะยาว (Long Term Care: LTC) และที่มีภาวะปัญหาการกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้(กลุ่ม ข.)ได้รับการติดตามเยี่ยม

ร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะปัญหาการกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้ ได้รับการติดตามเยี่ยม  1 ครั้ง

0.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 14
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 1
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 31/07/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการเสนอแผนการค้นหาบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ADL เท่ากับหรือน้อยกว่า 6 ที่ยังไม่เข้าร่วมโครงการการดูแลสุขภาพระยะยาว (Long Term Care: LTC) และบุคคลที่มีภาวะปัญหาการกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้ ในพื้นที่รับผิดชอบ ของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นว

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการเสนอแผนการค้นหาบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ADL เท่ากับหรือน้อยกว่า 6 ที่ยังไม่เข้าร่วมโครงการการดูแลสุขภาพระยะยาว (Long Term Care: LTC) และบุคคลที่มีภาวะปัญหาการกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้ ในพื้นที่รับผิดชอบ ของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นว
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 9 ชุดๆละ 25 บาท เป็นเงิน 225 บาท
  • สมุดเบอร์ 2 ขนาด 60 แกรม หุ้มปกจำนวน 1 เล่ม เป็นเงิน 40 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
10 มีนาคม 2566 ถึง 10 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะอนุกรรมการ การดูแลสุขภาพระยะยาว (Long Term Care: LTC) มีการประชุมวางแผนเพื่อนำเสนอผลการค้นหาบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ADL เท่ากับหรือน้อยกว่า 6 ที่ยังที่ยังไม่เข้าร่วมโครงการการดูแลสุขภาพระยะยาว (Long Term Care: LTC) และบุคคลที่มีภาวะปัญหาการกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้ ในพื้นที่รับผิดชอบ และจัดทำแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan)

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
265.00

กิจกรรมที่ 2 จัดซื้อผ้าอ้อมผู้ใหญ่

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้อผ้าอ้อมผู้ใหญ่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าผ้าอ้อมผู้ใหญ่ ไซส์ m จำนวน 3,240ชิ้นๆละ 9.45  บาท เป็นเงิน 30,618 บาท
  • ค่าผ้าอ้อมผู้ใหญ่ ไซส์ L จำนวน 810 ชิ้นๆละ 9.45 บาท เป็นเงิน 7,654.50 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
17 มีนาคม 2566 ถึง 27 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้มีการจัดซื้อผ้าอ้อมผู้ใหญ่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
38272.50

กิจกรรมที่ 3 นำส่งผ้าอ้อมผู้ใหญ่ให้กับกลุ่มเป้าหมาย 1 ครั้ง / 3 เดือน

ชื่อกิจกรรม
นำส่งผ้าอ้อมผู้ใหญ่ให้กับกลุ่มเป้าหมาย 1 ครั้ง / 3 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1x2 เมตร จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 300 บาท
  • ป้ายสติ๊กเกอร์ติดโฟมบอร์ด พร้อมด้ามจับ ขนาด 30x60 เซนติเมตร จำนวน 3 ป้ายๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 450 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
17 มีนาคม 2566 ถึง 27 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้มีการนำส่งผ้าอ้อมผู้ใหญ่ให้กับกลุ่มเป้าหมาย 1 ครั้ง / 3 เดือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
750.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมติดตามเยี่ยมดูแลตามแผนการให้บริการกลุ่มเป้าหมายรายบุคคล พร้อมจัดทำทะเบียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามเยี่ยมดูแลตามแผนการให้บริการกลุ่มเป้าหมายรายบุคคล พร้อมจัดทำทะเบียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • แฟ้มใส่เอกสาร ขนาด 3 นิ้ว จำนวน 1 เล่ม เป็นเงิน 85 บาท
  • กระดาษ A4 ขนาด 80 แกรม จำนวน 1 ห่อ เป็นเงิน 125 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
27 มีนาคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้มีการติดตามเยี่ยมดูแลตามแผนการให้บริการกลุ่มเป้าหมายรายบุคคล  พร้อมจัดทำทะเบียน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
210.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 39,497.50 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. บุคคลที่มีคะแนนระดับความสามารถในการดำเนินกิจวัตรประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) เท่ากับหรือน้อยกว่า 6 (กลุ่ม ก.) ที่ยังไม่ที่ยังไม่เข้าร่วมโครงการการดูแลสุขภาพระยะยาว (Long Term Care: LTC)ได้รับการสนับสนุนผ้าอ้อมผู้ใหญ่ เพื่อนำไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน
2. บุคคลที่มีภาวะปัญหาการกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้ (กลุ่ม ข.) ตามผลการประเมินหรือข้อบ่งชี้ทางการแพทย์เข้าถึงบริการสาธารณสุขตามสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมากขึ้น
3. บุคคลที่มีภาวะบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ที่มีคะแนนระดับความสามารถในการดำเนินกิจวัตรประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) เท่ากับหรือน้อยกว่า 6 (กลุ่ม ก.) ที่ยังไม่เข้าร่วมโครงการการดูแลสุขภาพระยะยาว (Long Term Care: LTC) และผู้ที่มีปัญหาการกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้ ได้รับการติดตามเยี่ยม1 ครั้ง


>