กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดขนมกรุบกรอบ ประจำปี 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมูโนะ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาดังยอ

1.นางซากียะ มะ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาดังยอ หมู่ที่ 3 ตำบลมูโนะ อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ในปัจจุบันขนมขบเคี้ยวเข้ามามีบทบาทสำคัญกับเด็กมากขึ้น ด้วยรูปลักษณ์ที่น่ารับประทาน รสชาติอร่อย
ขนมส่วนใหญ่มักทำจากแป้ง น้ำตาล ไขมัน นอกจากนี้ยังมีผงชูรส เกลือ กลิ่นและสีปรุงแต่งอาหาร เมื่อกินเข้าไปแล้วจะอิ่มง่าย แป้งและน้ำตาลจะเปลี่ยนเป็นไขมันสะสมตามส่วนต่างๆของร่างกาย ทำให้เกิดโรคอ้วนและอาจทำให้เกิดโรคอื่นๆตามมาหรืออาจเกิดโรคขาดสารอาหาร หากบริโภคจำนวนมาก อาจส่งผลต่อพัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาในระยะยาวแก่เด็กได้
ดังนั้น เพื่อลดปัญหาดังกล่าวได้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาดังยอ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในเรื่องการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ จึงได้จัดทำโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดขนมกรุบกรอบ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขึ้น เพื่อส่งเสริมการรับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ลดการเกิดปัญหาฟันผุในเด็กและให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับภาวะโภชนาการที่ดี และเหมาะสมตามวัยของเด็ก

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์

ร้อยละของเด็กนักเรียนเลือกรับประทานอาหารที่มีประโชน์

0.00 75.00
2 เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการและปัญหาฟันผุในเด็ก

ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

0.00 80.00
3 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับภาวะโภชนาการที่ดี และ เหมาะสมตามวัย

ร้อยละของผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ถูกต้องเกี่ยวกับภาวะโภชาการที่ดีและเหมาะสมตามวัย

0.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 44
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
คณะทำงาน 3
ครู 4

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างฯ 51 คน x 25 บาท เป็นเงิน 1,275 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน 51 คน x 50 บาท เป็นเงิน 2,550 บาท
  • ค่าวิทยากร(4 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท) เป็นเงิน 2,400 บาท
  • ค่าวัสดุอุปกรณ์- กระเป๋าผ้าสำหรับใส่เอกสาร 44 ใบๆละ 60 บาท เป็นเงิน 2,640 บาท - สมุด 44 เล่มๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,100 บาท - ปากกา 44 ด้ามๆละ 10 บาท เป็นเงิน 440 บาท
  • ค่าป้ายโครงการฯ1 x 2 เมตร เป็นเงิน 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10905.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,905.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ส่งเสริมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้กับเด็ก
2. ปัญหาภาวะทุพโภชนาการและปัญหาฟันผุในเด็กน้อยลง
3. ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับภาวะโภชนาการที่ดี และเหมาะสมตามวัย


>