กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้พิการ ผู้ดูแลคนพิการ ด้วยแพทย์แผนไทย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด

ฝ่ายส่งเสริมสวัสดิการสังคม สำนักปลัดเทศบาลตำบลคลองขุด

ฝ่ายส่งเสริมสวัสดิการสังคม สำนักปลัดเทศบาลตำบลคลองขุด
ชื่อ นางสาวเนติมา ไกรทอง ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายส่งเสริมสวัสดิการสังคม สำนักปลัด
เบอร์โทรศัพท์ 094-5787294
ที่อยู่ สำนักงานเทศบาลตำบลคลองขุด 89๑ หมู่ที่ 6 ตำบลคลองขุด
อำเภอเมืองสตูลจังหวัด สตูล ๙๑๐๐๐

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานคนพิการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ดูแลหรือญาติสามารถให้การดูแลผู้พิการได้

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มศักยภาพผู้ดูแลหรือญาติสามารถดูแลคนพิการ

ร้อยละของผู้ดูแลหรือญาติสามารถให้การดูแลผู้พิการได้

50.00 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 40
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2023

กำหนดเสร็จ 31/05/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้พิการ ผู้ดูแลคนพิการ ด้วยแพทย์แผนไทย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้พิการ ผู้ดูแลคนพิการ ด้วยแพทย์แผนไทย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม
1.ประชุมคณะกรรมการศูนย์บริการคนพิการฯ ร่วมวางแผนการดำเนินงานโครงการฯ
2.ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายที่สนใจเข้าร่วมโครงการ
3.แจ้งกลุ่มเป้าหมายเพื่อร่วมดำเนินกิจกรรม
4.ประสานผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วม
5.ดำเนินกิจกรรมตามกำหนดการโครงการฯ (กำหนดการแนบท้าย)
6.วัดผลการดำเนินโครงการฯ โดยจัดทำแบบประเมิน ก่อน-หลัง ร่วมกิจกรรม
7.สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ
งบประมาณ
1. ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1.2 * 2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย ตางรางเมตร 150 บาท    เป็นเงิน   432  บาท
2. ค่าตอบแทนวิทยากร (กิจกรรมอบรม) จำนวน 1 คน 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน 2 มื้อๆละ 30 บาท               เป็นเงิน 3,600 บาท
4. อาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ                                              เป็นเงิน 4,200 บาท จำนวน 60 คน 1 มื้อๆ ละ 70 บาท
5. ค่าวัสดุสำหรับทำกิจกรรม                                         เป็นเงิน 6,768 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  18,000 บาท (หนึ่งหมื่นแปดพันบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑. ผู้เข้ารับการอบรม มีองค์ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรใกล้ตัว รู้สรรพคุณและการใช้ประโยชน์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
๒. ผู้ร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้การทำสมุนไพรแช่เท้าและมีทักษะที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 18,000.00 บาท

หมายเหตุ :
งบประมาณต่าง ๆ สามารถถัวจ่ายกันได้ตามการจ่ายจริง กิจกรรมสถานที่และเวลา สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

กลุ่มผู้พิการ หรือผู้ดูแลคนพิการ รวมทั้งผู้เข้าร่วม ได้รู้จักสมุนไพรใกล้ตัว สรรพคุณและการใช้ประโยชน์ รวมทั้งได้เรียนรู้การทำสมุนไพรแช่เท้า เพิ่มความรู้และทักษะที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตได้ เช่น แช่เท้า กรณีมีอาการนอนไม่หลับ อาการชาบริเวณส่วนต่างๆ ของร่างกาย อาการเครียดด้วยสาเหตุต่างๆ เป็นต้น ซึ่งการแช่เท้าช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด ช่วยผ่อนคลายและลดความตึงเครียดของกล้ามเนื้อช่วยปรับสมดุลต่อมไร้ท่อ , เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของอวัยวะต่างๆภายในร่างกาย นอกจากนี้ยังช่วยป้องกันและรักษาบางโรคได้


>