กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างซ้าย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

คัดกรองโรคเบาหวานในชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างซ้าย

กลุ่ม อสม.หมู่ที่ี่ 2

นางสาคำนึง คำนวนจิตร
นางศุภรัตน์วิชิตวรคุณ
นางลำใยธาตุมาศ

พื้นที่ีบ้านแพร ม.2

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ประชาชนของ ม.2 บ้านแพร่ ได้รับคัดกรองคน
พบกลุ่มเสี่ยงคน

10.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ประชาชนของ ม.2 บ้านแพร่ ได้รับคัดกรองคน
พบกลุ่มเสี่ยงคน

16.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

10.00 6.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

16.00 10.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 22/03/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมกลุ่มเสี่ยงตามทะเบียนกลุ่ม รพ.สต.วังวัว ปี 2565 จำนวน 100 คน เพ่ื่อให้รู้รายละเอียดของโครงการ และตระหนักในการลดความเสี่ยงโรคเบาหวาน เก็บข้อมูลสุขภาพและทัศนคติ และสรรหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการโดยผู้รับผิดชอบโครงการ มีค่าใช้จ่ายดังนี้
1. ค่าป้ายโครงการ เป็นเงินจำนวน 500 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเคร่ื่องดื่ม จำนวน110 คนๆ ละ 25 บาท เป็นเงินจำนวน 1250 บาท
3. ค่าเอกสารเก็บข้อมูล จำนวน 100ชุดๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 มีนาคม 2566 ถึง 8 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ได้กลุ่มเป้าหมาย 50 คน
  2. ได้ข้อมูลสุขภาพกลุ่มเสี่ยง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2250.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
อบรมกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้เพ่ื่อตระหนักต่อภาวะความเสี่ยงโรคเบาหวาน โดยวิทยากรวิชาการ และจัดกระบวนการเพื่อให้ได้กติกาแผนการติดตามสู่ผลลัพธ์และแบ่งกลุ่มย่อยเพื่อติดตามการประเมิน
1. ค่าสัมนาคุนวิทยากรวิชาการ 1 คน จำนวน 2 ชม.ๆ ละ 600เป็นเงิน 1200 บาท
2. ค่าสัมนาคุนวิทยากรกระบวนการ 2 คน จำนวน 3 ชม.ๆ ละ 600เป็นเงิน 3600 บาท
3. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 58 คน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 80 เป็นเงิน 4640 บาท
4. ค่าอาหารว่างและเครืองดื่ม จำนวน 58 คน จำนวน 2 มื้อๆ ละ 25 เป็นเงิน 2900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มีนาคม 2566 ถึง 15 มีนาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ได้ความรู้ ความเข้าใจ และความร่วมมือ
  2. ได้กติกา
  3. ได้กลุ่มย่อยแกนนำกลุ่ม
  4. แผนการติดตาม
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12340.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมติดตาม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตาม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

คณะทำงานร่วมกับแกนนำกลุ่มติดตามค้นครัวดูสภาพแวดล้อมการประกอบอาหาร พฤติกรรมการกิน พฤติกรรมการออกกำลังกาย ด้วยแบบประเมินผล โดยการไขว้กลุ่ม และร่่วมประชุมสรุปผล โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ 2. ค่าสัมนาคุนวิทยากรกระบวนการ 2 คน จำนวน 3 ชม.ๆ ละ 600เป็นเงิน 3600 บาท
3. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 58 คน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 80 เป็นเงิน 4640 บาท
4. ค่าอาหารว่างและเครืองดื่ม จำนวน 58 คน จำนวน 2 มื้อๆ ละ 25 เป็นเงิน 2900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
5 กรกฎาคม 2566 ถึง 5 กรกฎาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ได้ข้อมูลการปรับสภาพแวดล้อมของครัวเรือน
  2. ได้ข้อมูลการปรับพฤติกรรม
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 แลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าสัมนาคุนวิทยากรกระบวนการ 2 คน จำนวน 3 ชม.ๆ ละ 600เป็นเงิน 3600 บาท
  2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 58 คน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 80 เป็นเงิน 4640 บาท
  3. ค่าอาหารว่างและเครืองดื่ม จำนวน 58 คน จำนวน 2 มื้อๆ ละ 25 เป็นเงิน 2900 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มิถุนายน 2566 ถึง 6 มิถุนายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่ี่ 2

ชื่อกิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่ี่ 2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กลุ่มเป้าหมาย 50 คน แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน การออกกำลังกาย 2. ค่าสัมนาคุนวิทยากรกระบวนการ 2 คน จำนวน 3 ชม.ๆ ละ 600เป็นเงิน 3600 บาท
3. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 58 คน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 80 เป็นเงิน 4640 บาท
4. ค่าอาหารว่างและเครืองดื่ม จำนวน 58 คน จำนวน 2 มื้อๆ ละ 25 เป็นเงิน 2900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2566 ถึง 1 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้ข้อมูลสุขภาพ
ได้กลุ่มต้นแบบ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 6 ประชุมสรุปโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมสรุปโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมคณะทำงานและแกนนำ เพื่อสรุปและประเมินผลโครงการ ค่าใช้จ่ายดังนี้
1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 20 คนๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2566 ถึง 1 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จำนวนกลุ่มเป้าหมาย มีการเปลี่ยนแปลงคน ดีขึ้นถึงปกติ
ปัจจัยความสำเร็จ
บุคคลต้นแบบ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,590.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

จำนวนกลุ่มเสี่ยงลดลง


>