กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการลูกน้อยสดใส โภชนาการดี พัฒนาการสมวัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบตก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบตก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบตก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ในหลายประเทศล้วนมุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – 6 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิ

 

135.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 .เพื่อให้เด็กอายุ 0-6 ปีได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ

เด็ก ๐- ๖ ปีได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๙๐

90.00 90.00
2 เพื่อส่งเสริมผู้ปกครองเด็กมีความรู้เรื่องโภชนาการและทักษะในการเฝ้าระวังพัฒนาการตามวัย

ผู้ปกครองมีความรู้เพิ่มขึ้น

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 110
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรม ตรวจคัดกรองเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการและจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการ -วิธีการคัดกรองเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม ตรวจคัดกรองเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการและจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการ -วิธีการคัดกรองเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  25 คน x 25 บาท x 2 มื้อ  เป็นเงิน  1,250  บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน  25 คน x 50 บาท x 1 มื้อ                               เป็นเงิน 1,250  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 30 เมษายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2500.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-6 ปี -ความรู้เรื่องโภชนาการ และทักษะในการเฝ้าระวังพัฒนาการตามวัย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-6 ปี -ความรู้เรื่องโภชนาการ และทักษะในการเฝ้าระวังพัฒนาการตามวัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  110 x 25 บาท x 2 มื้อ  เป็นเงิน  5,500  บาท - ค่าอาหารกลางวัน  110 x 50 บาท x 1 มื้อ                             เป็นเงิน 5,500  บาท -ค่ากระเป๋า และเอกสาร 110 คน x 90 บาท เป็นเงิน 9,900  บาท -ค่าไวนิล ขนาด 3 เมตร x 1 เมตร เป็นเงิน 750

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21650.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,150.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กอายุ 0-6 ปีได้รับการตรวจคัดกรองเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการ
2. เด็กอายุ 0-6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัย ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญาอารมณ์ จิตใจ และสังคม
3. ผู้ปกครองเด็กมีความรู้เรื่องโภชนาการและทักษะในการเฝ้าระวังพัฒนาการตามวัย


>