กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก รหัส กปท. L3063

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น สภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรัก ประจำปีงบประมาณ 2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
สภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรัก
กลุ่มคน
1.นางสาวอาอีดะห์ เจ๊ะแว

2.นางสาวฟาตินยูโซะ

3.นางสาวนูรูณฮีดายะห์ ฮาแว

4.นางสาวอนิสามามะ

5.นายมูชารีฟโตะกีแม
3.
หลักการและเหตุผล

ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์เป็นวิกฤตทางสุขภาพทั่วโลก กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ หรือ UNFPA ระบุว่าการตั้งครรภ์เกือบ 50% ทั่วโลก หรือประมาณ 121 ล้านราย เป็นการตั้งครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ และมีผู้หญิงกว่า 160 ล้านคนทั่วโลกที่ไม่สามารถเข้าถึงการคุมกำเนิดได้อย่างเพียงพอ ประเทศไทยเองก็เป็นหนึ่งในประเทศที่เผชิญปัญหาดังกล่าว จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าในปี 2564 อัตราการคลอดในกลุ่มเด็กอายุ 15-19 ปีอยู่ที่ 25 ต่อ 1,000 ประชากร ลดลงจากปี 2563 ซึ่งมีอัตราอยู่ที่ 28.7 ต่อ 1,000 ประชากร แม้ตัวเลขทางสถิติจะลดลง แต่ปัญหาดังกล่าวก็ยังจำเป็นต้องเร่งแก้ไข เพราะการตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม จะนำไปสู่การเกิดที่ด้อยคุณภาพ ซึ่งจะยิ่งส่งผลกระทบต่อปัญหาด้านโครงสร้างประชากรให้รุนแรงยิ่งขึ้นไปอีก นอกจากนี้ไทยยังประสบปัญหาด้านโครงสร้างประชากรจากอัตราการเกิดที่ต่ำ โดย World Population Prospect 2022 ระบุว่าไทยมีอัตราการเจริญพันธุ์โดยรวมต่ำกว่าอัตราการทดแทน ทำให้จำนวนประชากรมีแนวโน้มลดลง โดยในปี 2564 มีเพียง 20 ประเทศเท่านั้น ที่มีอัตราเจริญพันธุ์รวมต่ำกว่าประเทศไทย (ข้อมูลจาก workpointtoday) ถึงแม้ว่ากระทรวงสาธารณสุขจะมีมาตรการป้องกัน หรือรณรงค์การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น แต่ก็ยังมีวัยรุ่นบางส่วนที่ยังไม่เข้าใจและไม่เข้าถึง ถึงการตั้งครรภ์ที่พร้อม เมื่อเกิดภาวะการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมทำให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น ปัญหาการเลี้ยงดูเด็กทารกไม่ได้ เมื่อเกิดปัญหาเหล่านี้ขึ้นมา ทำให้คุณแม่วัยใสทั้งหลาย เกิดอาการเครียดและเกิดภาวะที่อยากจะนำภาระทุกอย่างออกไปจากตนเอง จนเกิดเป็นการก่อเหตุต่างๆ ขึ้นมา ซึ่งปัญหาเหล่านี้มองเห็นได้ชัดในสังคมปัจจุบันของไทย ตามการรายงานข่าวในช่องสื่อต่างๆ มักเห็นปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาทั่วไป ดังนั้น รัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรมีมาตรการที่เข็มงวดพอที่จะต้องกวดขัน หรือคอยสอดส่องดูแลเด็กและเยาวชนรวมทั้งให้ความรู้ในเรื่องของการมี SEX ที่ถูกวิธี การป้องกัน หรือการปฏิเสธการร่วมมีความสัมพันธ์กับเพศตรงข้าม เพื่อลดอัตราการการเกิดที่ด้อยคุณภาพ และให้ความรู้ ความเข้าใจเพื่อเตรียมรับกับอัตราการเกิดที่มีคุณภาพ การให้ความรู้และข่าวสารจะช่วยให้คุณภาพของเด็กที่เกิดขึ้นมามีประโยชน์ต่อสังคม ไม่สร้างปัญหาให้กับสังคมและพร้อมที่ก้าวสู่โลกต่างๆ ได้อย่างสมบูรณ์
ดั้งนั้น เพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นมาและเพื่อเป็นการให้ความรู้ให้กับน้องๆ หรือประชาชนที่ยังไม่มีความพร้อมในการตั้งครรภ์ เพื่อให้เกิดเป็นแนวทางที่ดีและไม่เกิดเหตุการณ์ซ้ำๆ สภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรักจึงได้มีการจัดกิจกรรม “โครงการ ป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น สภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรัก ประจำปีงบประมาณ 2566

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อเป็นแนวทางให้กับเด็กและเยาวชนมีความรู้ในเรื่องของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและเพื่อให้เด็กและเยาวชนเรียนรู้ที่จะปฏิเสธหรือหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้รับทราบถึงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ของเด็กและเยาวชน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ของเด็กและเยาวชน และให้เด็กและเยาวชนมีวิธีการหลีกเลี่ยงจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันสมควร
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีส่วนร่วมในการนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปเผยแพร่ในกลุ่มสภาเด็กและเยาวชนของตนเองและกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมจัดอบรมสภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรัก
    รายละเอียด

    กิจกรรมจัดอบรมสภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรัก และเด็กและเยาวชน ทั้งในสถานศึกษา นอกสถานศึกษา รวมทั้งเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษา
    ในตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จำนวน 50 คน

    -ค่าสมนาคุณวิทยากรภาคเอกชน 1200.-บาท x 1 คน จำนวน 3 ชั่วโมง  เป็นเงิน 3,600.-บาท

    -ค่าสมนาคุณวิทยากรภาครัฐ 600.-บาท x 1 คน จำนวน 2 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,200.-บาท

    -ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท

    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท

    -ค่าจัดทำป้ายไวนิล ขนาด 1x4 เมตร เป็นเงิน 1,000.-บาท

    -ค่าวัสดุอุปกรณ์ 4,200.-บาท

    หมายเหตุ: ค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

    งบประมาณ 15,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 15,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เด็กและเยาวชน มีทักษะชีวิตในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ของเด็กและเยาวชน

  2. เด็กและเยาวชนมีวิธีการหลีกเลี่ยงจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันสมควร

  3. เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุด

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก รหัส กปท. L3063

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก รหัส กปท. L3063

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 15,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................