กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเยาวชนสุขภาพดี ห่างไกลยาเสพติด ตามแนวทางอิสลาม

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนบ้านนา

1……นายวีระชาติละอองพันธ์…………
2……นางสาวรัชดาโกบปุเลา……………………………
3……นางสาวยามีล๊ะยาหวัง………………..…
4……นางอามีน๊ะสิ้นเซ่ง……………………..……
5……นางสาวปารีด๊ะยังดี…………………

ชุมชนบ้านนา ม.2 ต.เจ๊ะบิลัง อ.เมือง จ.สตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เยาวชน มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพ มีความรู้เรื่องพิษภัยจากสารเสพติด

ร้อยละของเยาวชน มีความรู้เรื่องพิษภัยจากสารเสพติด

50.00 1.00
2 เพื่อให้เยาวชน เสริมสร้างภูมิคุ้มกันในการป้องกันตนเองตนเอง จากสารเสพติด

เยาวชนมีภูมิคุ้มกันในการป้องกันตนเองจากสารเสพติด โดยมีความรู้และทักษะเพิ่มขึ้นร้อยละ 80

50.00 1.00
3 เพื่อให้เยาวชนได้รับประสบการณ์ และเพิ่มพูนทักษะพัฒนา EQ จากการฝึกแก้ปัญหา และ มีกิจกรรมที่สร้างสรรค์ และเสริมสร้างความสุขให้กับตนเอง

เพื่อให้เยาวชนได้รับประสบการณ์ และเพิ่มพูนทักษะพัฒนา EQ จากการฝึกแก้ปัญหา  และ มีกิจกรรมที่สร้างสรรค์ และเสริมสร้างความสุขให้กับตนเอง

50.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2023

กำหนดเสร็จ 29/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องในเรื่องการดูแลสุขภาพการสร้างภูมิคุ้มกันการป้องกันสารเสพติด วัยเรียน วัยใส การสร้างเกราะคุ้มกัน สานฝันเยาวชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องในเรื่องการดูแลสุขภาพการสร้างภูมิคุ้มกันการป้องกันสารเสพติด วัยเรียน วัยใส การสร้างเกราะคุ้มกัน สานฝันเยาวชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 ประเมินพฤติกรรมการสร้างภูมิคุ้มกันในการป้องกันสารเสพติด
1.2 อบรมให้ความรู้ในการป้องกันสารเสพติด 1.3 จัดกิจกรรมเฝ้าระวังป้องกันการใช้สารเสพติดในชุมชนอย่างต่อเนื่อง 2 กิจกรรมจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะแบบรายกลุ่มในการเฝ้าระวังและป้องกันการใช้สารเสพติด 2.1 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2.2 กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 3 จัดกิจกรรมสร้างสุข 3.1 กิจกรรมสร้างสายใยในครอบครัว 3.2 กิจกรรมสร้างฝัน แล้วไปให้ถึง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แกนนำชุมชน อสม. ครอบครัว และเยาวชน มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพ มีความรู้เรื่องพิษภัยจากสารเสพติด มีภูมิคุ้มกันในการป้องกันสารเสพติด ทั้งด้านจิตใจแก่ตนเอง และมีทักษะในการเฝ้าระวังป้องกันตนเองจากสารเสพติด รวมทั้งมีประสบการณ์ และทักษะในการพัฒนาด้านความฉลาดทางอารมณ์ในการปัญหาให้กับตนเอง เพื่อนๆ ครอบครัวและชุมชน ทำให้ดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

แกนนำชุมชน อสม. ครอบครัว และเยาวชน มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพ มีความรู้เรื่องพิษภัยจากสารเสพติด มีภูมิคุ้มกันในการป้องกันสารเสพติด ทั้งด้านจิตใจแก่ตนเอง และมีทักษะในการเฝ้าระวังป้องกันตนเองจากสารเสพติด รวมทั้งมีประสบการณ์ และทักษะในการพัฒนาด้านความฉลาดทางอารมณ์ในการปัญหาให้กับตนเอง เพื่อนๆ ครอบครัวและชุมชน ทำให้ดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข


>