กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการกายบริหารเพื่อสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก

โรงเรียนบ้านปริกใต้(นำราษฎร์สามัคคี)

โรงเรียนบ้านปริกใต้(นำราษฎร์สามัคคี)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันสถานการณ์โลกได้เปลี่ยนแปลงไปเกิดโรคอุบัติใหม่เกิดขึ้นมากมาย และเป็นสังคมยุคดิจิตอล พฤติกรรมการเป็นอยู่ของเด็กในสมัยนี้จึงแตกต่างจากสมัยก่อนเป็นอย่างมาก ในสมัยก่อนนั้น เด็กจะมีการละเล่นที่เคลื่อนไหวร่างกาย แต่เด็กสมัยนี้จะจดจ่ออยู่กับหน้าจอโทรศัพท์ มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายที่น้อยลงมากทำให้สุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนรวมไปถึงครูและบุคลากรทางการศึกษาอ่อนแอ ส่งผลต่อสุขภาพและการศึกษาของนักเรียน
จากผลสำรวจ “เด็กไทยในยุค ไทยแลนด์ 4.0” จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) โดยสอบถามความคิดจากประชาชนทั่วประเทศ กระจายทุกภูมิภาค ระดับการศึกษา และอาชีพ รวมทั้งสิ้น 1,250 ตัวอย่าง ซึ่งจากการสำรวจ กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นต่อ เด็กไทยในยุค ไทยแลนด์ 4.0 ว่ามีความต่างจากเด็กสมัยก่อนหลายข้อ และข้อหนึ่งที่ปฏิเสธไม่ได้ว่าสังคมไทยในปัจจุบันถูกเรียกว่า “สังคมก้มหน้า” เพราะผู้คนสนใจสิ่งที่อยู่ในมือถือมากกว่าจะหันมาคุยกับคนรอบข้าง และเมื่อผู้ใหญ่ยังเป็นเช่นนั้น จึงไม่น่าแปลกใจที่เด็กสมัยนี้จะมีเพื่อนเป็นมือถือ และคอมพิวเตอร์ มากกว่าการทำกิจกรรมทางกายหรือเล่นกับเพื่อน ทำให้เด็กในยุคนี้ขาดปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นๆ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างมีความเห็นด้วยต่อเรื่องนี้ ร้อยละ 45.56
โรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี)มีนักเรียน จำนวน 80 คน มีภาวะอ้วน จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 11.25ครูและบุคลกรทางการศึกษา จำนวน 12คน มีภาวะอ้วน 4 คนคิดเป็นร้อยละ 33.33.จากปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านปริกใต้(นำราษฎร์สามัคคี)ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหานี้ จึงอยากปลูกฝังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กนักเรียน รวมทั้งครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้หันมาให้ความสำคัญต่อการทำกิจกรรมทางกายหรือการออกกำลังกาย มากกว่าการการเก็บตัวอยู่กับหน้าจอโทรศัพท์ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย ลดภาวะอ้วน และส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา เกิดการทำกิจกรรมการออกกำลังกายเสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรคต่างๆ ลดความเสี่ยงจากโรคภัยต่างๆจึงได้จัดทำโครงการ“กายบริหารเพื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี”ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา

1.เด็กนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100

0.00
2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาให้มีการทำกิจกรรมทางกาย

1.เด็กนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้หลังการอบบรม ร้อยละ 100

2.นักเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษากลุ่มอ้วน และกลุ่มเสี่ยงมีค่า BMI ลดลง

3.นักเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษากลุ่มปกติมีค่า BMI ไม่เพิ่มขึ้น หรือคงที่

0.00
3 เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บและอบายมุข

 

0.00

ปัจจุบันสถานการณ์โลกได้เปลี่ยนแปลงไปเกิดโรคอุบัติใหม่เกิดขึ้นมากมาย และเป็นสังคมยุคดิจิตอล พฤติกรรมการเป็นอยู่ของเด็กในสมัยนี้จึงแตกต่างจากสมัยก่อนเป็นอย่างมาก ในสมัยก่อนนั้น เด็กจะมีการละเล่นที่เคลื่อนไหวร่างกาย แต่เด็กสมัยนี้จะจดจ่ออยู่กับหน้าจอโทรศัพท์ มีกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายที่น้อยลงมากทำให้สุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนรวมไปถึงครูและบุคลากรทางการศึกษาอ่อนแอ ส่งผลต่อสุขภาพและการศึกษาของนักเรียน
จากผลสำรวจ “เด็กไทยในยุค ไทยแลนด์ 4.0” จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) โดยสอบถามความคิดจากประชาชนทั่วประเทศ กระจายทุกภูมิภาค ระดับการศึกษา และอาชีพ รวมทั้งสิ้น 1,250 ตัวอย่าง ซึ่งจากการสำรวจ กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นต่อ เด็กไทยในยุค ไทยแลนด์ 4.0 ว่ามีความต่างจากเด็กสมัยก่อนหลายข้อ และข้อหนึ่งที่ปฏิเสธไม่ได้ว่าสังคมไทยในปัจจุบันถูกเรียกว่า “สังคมก้มหน้า” เพราะผู้คนสนใจสิ่งที่อยู่ในมือถือมากกว่าจะหันมาคุยกับคนรอบข้าง และเมื่อผู้ใหญ่ยังเป็นเช่นนั้น จึงไม่น่าแปลกใจที่เด็กสมัยนี้จะมีเพื่อนเป็นมือถือ และคอมพิวเตอร์ มากกว่าการทำกิจกรรมทางกายหรือเล่นกับเพื่อน ทำให้เด็กในยุคนี้ขาดปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นๆ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างมีความเห็นด้วยต่อเรื่องนี้ ร้อยละ 45.56
โรงเรียนบ้านปริกใต้ (นำราษฎร์สามัคคี)มีนักเรียน จำนวน 80 คน มีภาวะอ้วน จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 11.25ครูและบุคลกรทางการศึกษา จำนวน 12คน มีภาวะอ้วน 4 คนคิดเป็นร้อยละ 33.33.จากปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านปริกใต้(นำราษฎร์สามัคคี)ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหานี้ จึงอยากปลูกฝังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กนักเรียน รวมทั้งครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้หันมาให้ความสำคัญต่อการทำกิจกรรมทางกายหรือการออกกำลังกาย มากกว่าการการเก็บตัวอยู่กับหน้าจอโทรศัพท์ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย ลดภาวะอ้วน และส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา เกิดการทำกิจกรรมการออกกำลังกายเสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรคต่างๆ ลดความเสี่ยงจากโรคภัยต่างๆจึงได้จัดทำโครงการ“กายบริหารเพื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี”ขึ้น

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 12
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 18/05/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องผลดีและผลเสียต่อสุขภาพของการใช้สื่อโซเชียลมีเดีย และกายบริหารเพื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีและประเมินสุขภาพเบื้องต้นก่อนการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องผลดีและผลเสียต่อสุขภาพของการใช้สื่อโซเชียลมีเดีย และกายบริหารเพื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีและประเมินสุขภาพเบื้องต้นก่อนการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายไวนิลโครงการและสื่อให้ความรู้ จำนวน 4 ผืนๆละ400 บาท เป็นเงิน 1,600บาท

  • ค่าวิทยากรในการอบรม จำนวน 4 ชม.ๆละ 600 บาทเป็นเงิน 2,400 บาท

  • ค่าอาหารกลางวันจำนวน 92คนมื้อละ70บาท เป็นเงิน 6,440 บาท

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 92คนมื้อละ25บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 4,600บาท

  • ค่ากระดาษ2รีมๆละ 150 บาท เป็นเงิน 300 บาท

รวมเป็นเงิน15,340 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15340.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมกายบริหาร -กายบริหารทุกเช้า(ทุกวัน) -กายบริหารยามเย็นสัปดาห์ละ3ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมกายบริหาร -กายบริหารทุกเช้า(ทุกวัน) -กายบริหารยามเย็นสัปดาห์ละ3ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าเครื่องเสียงแบบพกพาสำหรับออกกำลังกายกลางแจ้ง เป็นเงิน 9,800 บาท

รวมเป็นเงิน 9,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9800.00

กิจกรรมที่ 3 สรุปผลประเมินผล และรายงานผลการดำเนินการ

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลประเมินผล และรายงานผลการดำเนินการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,140.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการวมกลุ่มทำกิจกรรมกรรมด้านสุขภาพร่วมกัน
2.การจัดกิจกรรมการออกกำลังกายสามารถเป็นแบบอย่างให้แก่นักเรียน และชุมชนได้


>