กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังหมู่ที่ 4 ตำบลสมหวัง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสมหวัง

ชมรม อสม.หมู่ที่ 4 ตำบลสมหวัง

1 นายประคอง ขาวขำ
2 นางสาวเพ็ญศรี แก้วขุนจบ
3 นายสมใจ ชูสุวรรณ
4 นางนวลหง ทับทวี
5 นส.นันทิยา ณะ สวัสดิ์

พื้นที่หมู่ที่ 4 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 11/05/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้เรื่องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพโรคหลอดเลือดหัวใจ/สมอง จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรังเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพโรคหลอดเลือดหัวใจ/สมองพร้อมตรวจประเมินสุขภาพเบื้องต้น/ประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจหลอดเลือด -ค่าอาหารว่างและเครื่องดิ่ม 30 คนๆละ 25 บ.=750 บ -ค่าสมนาคุณวิทยากร 2 ชม.ๆละ 300 =600 บ. รวมเป็นเงิน 1350 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้เรื่องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพโรคหลอดเลือดหัวใจ/สมอง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1350.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
ติดตามกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

นำกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเข้าสู่คลินิกไร้พุงเฝ้าระวังและติดตามกลุ่มเสี่ยงโดยอสม.อย่างต่อเนื่องทุกเดือน เครื่องวัดความดันโลหิตแบบดิจิตอล 5 เครื่องๆละ 1800 = 9000 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเข้าสู่คลินิกไร้พุง ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามกลุ่มเสี่ยงโดยอสม.อย่างต่อเนื่องทุกเดือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,350.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับความรู้ในการปฏิบัติและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรวมทั้งภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว
2 ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามและส่งต่อพบแพทย์เพื่อวินิจฉัยและรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
3 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน
4.ลดภาวะแทรกซ้อนใหม่ในกลุ่มป่วย


>