กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ตำบลกาหลง ประจำปีงบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อบต.กาหลง

ตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)

 

20.00
2 จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว(คน)

 

4.00
3 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล(คน)

 

10.00
4 จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง เช่น ตาต้อ กระจก เป็นต้น (คน)

 

70.00
5 ร้อยละของผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

60.00
6 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

80.00
7 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

10.00
8 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

 

20.00
9 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ

 

90.00
10 จำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น

 

10.00
11 จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)

 

70.00
12 ร้อยละสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ

 

90.00
13 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีกลุ่มหรือสังกัดชมรม

 

4.00
14 จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (คน)

 

2.00
15 ร้อยละแผนการดูแลรายบุคคล(CP) ที่ได้รับการอนมัติและดูแล

 

100.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน

ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง

20.00 1.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว

ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว ลดลง

4.00 1.00
3 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล

จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

10.00 1.00
4 เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง

จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดลง

70.00 1.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน

จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น

2.00 1.00
6 เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล

จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

70.00 1.00
7 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ

ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง

10.00 1.00
8 เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

จำนวน สถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น

90.00 1.00
9 เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ

แผนการดูแลรายบุคคล(CP) ที่ได้รับการอนมัติและดูแล เพิ่มขึ้น

100.00 1.00
10 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น

4.00 1.00
11 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด

60.00 1.00
12 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

80.00 1.00
13 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น

10.00 1.00
14 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

90.00 1.00

1เพื่อให้มีศูนย์ส่งเสริมฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่2เพื่อผู้สูงอายุคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่มีความรู้เรื่องในการดูแลสุขภาพตนเองและเข้าถึงบริการได้ 3เพื่อผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงได้รับการดูแลและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนให้น้อยที่สุด

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2022

กำหนดเสร็จ 30/12/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ดำเนินการการบริหารจัดการในศูนย์ฯ

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินการการบริหารจัดการในศูนย์ฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 โต๊ะ – เก้าอี้สำนักงาน 1 ชุด ๆ ละ เป็นเงิน 6,000 บาท 1.2 ล๊อกเกอร์ 4 ชุด ๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
1.3 จัดซื้ออุปกรณ์ วัสดุสำนักงาน เช่น ลิ้นชักพลาสติกใส่เอกสารขนาด A4, กระดาษ A4, ปากกา, ดินสอ, ยางลบ, หมึกลบคำผิด, ไม้บรรทัด, แป้นหมึกสีน้ำเงิน, น้ำหมึกสีน้ำเงิน, ที่เย็บกระดาษ, ลวดเย็บกระดาษ, กรรไกร, ฟิวเจอร์บอร์ด, กระดาษกาว 2 หน้า และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมเป็นเงิน เป็นเงิน 5,000 บาท 1.4 เครื่องตรวจวัดความดันโลหิต 1 เครื่อง ราคาเครื่องละ ๆ เป็นเงิน 3,500 บาท 1.5 เครื่องวัดไข้ 1 เครื่องราคาเครื่องละ เป็นเงิน 1,000 บาท 1.6 เครื่องชั่งน้ำหนัก 1 เครื่อง ราคาเครื่องละ  3,900 บาท รวมเป็นเงิน 19,900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 ธันวาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19900.00

กิจกรรมที่ 2 การเยี่ยมบ้านให้ความรู้ ให้คำแนะนำ ติดตามดูแลสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
การเยี่ยมบ้านให้ความรู้ ให้คำแนะนำ ติดตามดูแลสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.1  ค่าถ่ายเอกสารแบบบันทึกการดูแลผู้สูงอายุ  เป็นเงิน  1,000  บาท 3.2  ค่าถ่ายเอกสารจ้างเหมาจัดทำรูปเล่ม  สรุปโครงการ ฯ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการบริหารกองทุน  เป็นเงิน  600  บาท 3.3  ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงในการติดต่อประสานงาน  ตลอดระยะเวลาดำเนินการโครงการ  เป็นเงิน  5,000  บาท 3.4  ค่าจ้างเหมาจัดทำอุปกรณ์ฟื้นฟูสภาพ  ให้เหมาะสมแต่ละบุคคล  เช่น  ไม้, เชือก,  รอก, อุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยจัดเตรียมไว้ในศูนย์  เช่น  อุปกรณ์บริหารมือ,  กล้ามเนื้อแขน  และอุปกรณ์ทำกายภาพบำบัดต่าง ๆ  เป็นต้น  รวมเป็นเงิน  3,500  บาท
รวมเป็นเงิน  10,100  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 ธันวาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

11.1เกิดศูนย์ส่งเสริมฟื้นฟูพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่
11.2ผู้สูงอายุผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่มีความรู้ในการส่งเสริมดูแลสุขภาพตนเองมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขสามารถออกมาร่วมกิจกรรมในสังคมและเข้าถึงบริการได้
11.3ผู้สูงอายุกลุ่มติบ้านและติดเตียงได้รับการดูแลและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน
11.4ผู้สูงอายุผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสเห็นคุณค่าของชีวิตและพร้อมที่จะดำรงชีวิตต่อไป
11.5ผู้สูงอายุทีมีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลระยาวจากCare giverอย่างต่อเนื่อง


>