กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ รณรงค์ ควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออกหมู่ 1 ตำบลน้ำผุด ปีงบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด

ชื่อองค์กร ชมรม อสม.หมู่ 1 ตำบลน้ำผุด
กลุ่มคน (ระบุ 5 คน)
1.นางบุญรัตแป้นแก้ว
2.นางสาวภมรพลวัฒน์
3.นางประกอบยอดผุด
4.นางผกาทิพย์ แก้ววิเศษ
5.นางสายพิน สีปานแก้ว

ม.1 ตำบลน้ำผุด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยจากสถานการณ์การระบาดของโรค พบว่า มีอุบัติการณ์ต่ำกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลาเกือบ 2 ปี (พ.ศ.2564-2565) จึงมีโอกาสที่ในปี พ.ศ.2566 จะเกิ

 

90.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนทำกิจกรรม กำจัดลูกน้ำยุงลาย และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือนและชุมชน 2. เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือน และชุมชน 3. เพื่อลดอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก

ตัวชี้วัดความสำเร็จ -  ประชาชนสามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 90   ของหลังคาเรือน และร้อยละ  90 ของหมู่บ้านและชุมชน -  สามารถควบคุมค่าความชุกของลูกน้ำยุงลาย โดยมีค่า HI น้อยกว่า 10 และค่า CI น้อยกว่า 10
- อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร/อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0

90.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,125
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2023

กำหนดเสร็จ 31/08/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 . กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งลูกน้ำยุงลายตามละแวกบ้านที่รับผิดชอบของ อสม. โดยใช้แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
. กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งลูกน้ำยุงลายตามละแวกบ้านที่รับผิดชอบของ อสม. โดยใช้แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ทรายอะเบท (ไม่ใช้งบประมาณ)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนสามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 90 ของหลังคาเรือน และร้อยละ90 ของหมู่บ้านและชุมชน -สามารถควบคุมค่าความชุกของลูกน้ำยุงลาย โดยมีค่า HI น้อยกว่า 10 และค่า CI น้อยกว่า 10 - อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร/อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2. กิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยทีมหมอครอบครัว/ผู้นำชุมชน /อสม. และประชาชนจิตอาสา อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
2. กิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยทีมหมอครอบครัว/ผู้นำชุมชน /อสม. และประชาชนจิตอาสา อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ป้ายไวนิล รณรงค์ ขนาด 1.2 x 2.4 ม. (ไม่ใช้งบประมาณ)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนสามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 90    ของหลังคาเรือน และร้อยละ  90 ของหมู่บ้านและชุมชน -  สามารถควบคุมค่าความชุกของลูกน้ำยุงลาย โดยมีค่า HI น้อยกว่า 10 และค่า CI น้อยกว่า 10
- อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร/อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 3. กิจกรรมการป้องกันและกำจัดพาหะในครัวเรือนที่มีผู้ป่วยละแวกบ้านใกล้เคียงรัศมี 100 เมตร

ชื่อกิจกรรม
3. กิจกรรมการป้องกันและกำจัดพาหะในครัวเรือนที่มีผู้ป่วยละแวกบ้านใกล้เคียงรัศมี 100 เมตร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.โลชั่นทากันยุง จำนวน 1,000 ซองๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท 2.สเปรย์พ่นกำจัดยุงตัวแก่ ขนาดบรรจุ 300 ซีซีจำนวน 75 กระป๋องๆละ 80 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-  ประชาชนสามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 90    ของหลังคาเรือน และร้อยละ  90 ของหมู่บ้านและชุมชน -  สามารถควบคุมค่าความชุกของลูกน้ำยุงลาย โดยมีค่า HI น้อยกว่า 10 และค่า CI น้อยกว่า 10
- อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร/อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนสามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง
2.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
3. ไม่มีอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่หมู่ที่ 1 ตำบลน้ำผุด
4. ผู้ป่วยไข้เลือดออกและละแวกบ้านรัศมี 100 เมตรได้รับสนับสนุนเสปรย์กำจัดยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะและโลชั่นทาป้องกันยุง


>