กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ร่วมสร้างสุข ลดความทุกข์เพื่อชีวิตที่ยืนยาวของประชาชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านตรับ

1. นางสุกัญญา เอียดวารี 084-0686597

2.นางหรอปิหย๊ะ ศิริภานนท์ 097-2728510

3.นางสายพิณ จันทองสุก 066-0035314

4.นางสุรินทร์ ไชยรัตน์ 089-8783399

5.นางพยอม จันทรักษ์ 080-0367501

พื้นที่รับผิดชอบ หมู่ที่2 หมู่ที่3 หมู่ที่4 หมู่ที่9 และหมู่ที่11 ตำบลจะโหนง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานสุขภาพจิต

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของวัยทำงานมีความสุข

 

73.80
2 เครือข่ายสร้างสุข ลดทุกข์ ในชุมชน

 

0.00

ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิตของบุคคลสามารถแบ่างเป็นปัจจัยภายใน เช่น ลักษณะนิสัย การจัดการปัญหา เป้นต้น ส่วนปัจจัยภายนอกและสภาพแวดล้อม เช่น ปัญหาสัมพันธภาพในครอบครัว เศรษฐกิจ ภาระหนี้สิน ปัญหาการเมือง การไม่มีที่อยุู่อาศัย ปัญหาอาญากรรมและสารเสพติด เป็นต้น โดยปัญหาสุขภาพจิตของบุคคลจะแตกตางกันในแต่ละช่วงวัย ตั้งแต่วัยเด้ก วัยรุ่น วัยผุ้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังมีกลุ่มเสี่ยงที่มีแนวโน้มที่จะเกิดสุขชภาพจิตที่พบบ่อย ได้แก่ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ เป็นต้น เนื่องจากข้อกำจัดในการดำรงชีวิตเพิ่มมากขึนกว่าบุคคลทั่วไป จึงทำให้เกิดปัญหาความเครียดหรือปัญหาสุขภาพจิตอื่นได้ง่ายกว่าบุคคลทั่วไป การส่งเสริมสุขภาพจิตสำหรับกลุ่มเสี่ยงเป็นส่วนทีสำคัญที่จะต้องป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิตให้ลดน้อยลงได้ ปัจจุบันปัญหาสุขภาพจิตและการป่วยทางจิตกลายเป็นปัญหาอีกปัญหาที่สำคัญของประเทศ ส่วนหนึ่งอาจเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกันไป ทำให้บุคคลเกิดความเครียดได้ง่ายและเจ็บป่วยทางจิต สถิติการเจ็บป่วยด้วยโรคทางจิตเวช 5 อันดับแรกในประเทศไทย ได้แก่ โรคซึมเศร้า โรคจิตเภท โรควิตกกังวล โรคจิตเวชเนื่องมาจากสารเสพติด และโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว ตามลำดับจากสาเหตุของความเครียด ความกังวลของกลุ่มวัยทำงานรวมทั้งกลุ่มวัยอื่นด้วยมาจากสาเหตุสำคัญหลายประการ ที่ครอบคลุมทั้งมิติทางรายได้และอาชีพ มิติสุขภาพประจำตัว จำเป็นต้องการการสนับสนุนการทำงานจากหลายภาคส่วน หลากหลายความเชี่ยวชาญ หลากหลายการสนับสนุน และหลากหลายกลุ่มเป้าหมาย การทำงานโดยยึดพื้นที่ และเหตุแห่งความเครียด ความทุกข์เป็นหลักจะต้องมีการสาน เชื่อม หรือส่งต่อในทุกระดับกับหน่วยงาน บุคคลหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ บทบาทของกลไกการขับเคลื่อนงานต้องทำหน้าที่เชื่อมร้อยทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่เข้ามาหนุนเสริมกระบวนการทำงานที่สอดคล้องกับบริบท จังหวะและโอกาสที่เหมาะสมจึงจะสามารถขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพจิตเชิงรุกบรรลุผลและเพิ่มสุข ลดทุกข์ให้กับตนเอง ครอบครัว และชุมชนร่วมกัน การทำหน้าที่เอื้ออำนวยให้เกิดกระบวนการตั้งแต่การปรับกรอบคิดกับผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ ทุกภาคส่วน การกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ การติดตมาเยี่ยมบ้านให้คำปรึกษา รวมถึงการสร้างเครือข่ายการทำงานร่วมกันทั้งในระดับพื้นที่และระดับนโยบายเพื่อการหนุนเสริมการทำงานร่วมกัน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มร้อยละของประชาชนมีความสุข

ร้อยละของประชาชนมีความสุขเพิ่มข้น

73.80 88.00
2 เพื่อเพิ่มเครือข่ายสร้างสุข ลดทุกข์ ในชุมชน

เครือข่ายสร้างสุข ลดทุกข์ ในชุมชนเพิ่มขึ้น

0.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 45
กลุ่มผู้สูงอายุ 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 09/08/2023

กำหนดเสร็จ 18/10/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและคัดเลือกอาสาสมัครแกนนำเครือข่ายเฝ้าระวังและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานและคัดเลือกอาสาสมัครแกนนำเครือข่ายเฝ้าระวังและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 625 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 สิงหาคม 2566 ถึง 15 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แผนการดำเนินงาน จำนวนอาสาสมัครแกนนำ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
625.00

กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพแกนนำ และเครือข่ายป้องกันและเฝ้าระวังทางสุขภาพจิตในการค้นหาและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพจิต

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาศักยภาพแกนนำ และเครือข่ายป้องกันและเฝ้าระวังทางสุขภาพจิตในการค้นหาและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพจิต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ผู้เข้าอบรม 30 คน วิทยากรกระบวนการ 2 คน คณะทำงานเจ้าหน้าที่ 4 คน

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 36 คน ๆละ 2 มื้อ ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 36 คน ๆละ 1 มื้อ ๆละ 65 บาท เป็นเงิน 2,340 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม 2 คน ๆละ 5 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท

  • ค่าเอกสารและวัสดุการอบรม (แฟ้ม ปากกา สมุด และเอกสาร) จำนวน 36 คน ๆละ 30 บาท เป็นเงิน 1,080 บาท

  • ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1*2.5 เมตร เป็นเงิน 375 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
24 สิงหาคม 2566 ถึง 24 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • กลุ่มกลุ่มเครือข่ายแกนนำ ฯ
  • แกนนำเครือข่ายการป้องกันและเฝ้าระวังทางสุขภาพจิต มีความรู้ความเข้าใจและสามารถให้คำแนะนำได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11595.00

กิจกรรมที่ 3 ประเมินคัดกรองความเครียดแก่กลุ่มเป้าหมายก่อนและหลังการดำเนินการ

ชื่อกิจกรรม
ประเมินคัดกรองความเครียดแก่กลุ่มเป้าหมายก่อนและหลังการดำเนินการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับคณะทำงานและเครือข่าย ฯ จำนวน 30 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
  • แบบประเมินความสุขและแบบประเมินความเครียด จำนวน 100 ชุด ๆละ 3 บาท เป็นเงิน 300 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2566 ถึง 10 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ผู้ที่ได้รับการประเมินความเครียด
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1050.00

กิจกรรมที่ 4 อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะการจัดการความเครียดและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นส่งเสริมการเห็นคุณค่าแห่งตน/การใช้เวลาว่าง/การสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มทักษะการจัดการความเครียดและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นส่งเสริมการเห็นคุณค่าแห่งตน/การใช้เวลาว่าง/การสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ผู้เข้าอบรม 60 คน วิทยากรกลุ่ม 2 คน คณะทำงานเจ้าหน้าที่ 4 คน

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 66 คน ๆละ 2 มื้อ ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 3,300 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 66 คน ๆละ 1 มื้อ ๆละ 65 บาท เป็นเงิน 4,290 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากรกลุ่ม 2 คน จำนวน 5 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
  • ค่าเอกสารและวัสดุการอบรม (แฟ้ม ปากกา สมุด เอกสาร) จำนวน 60 คน ๆละ 40 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
  • แบบประเมินความสุขและแบบประเมินความเครียด จำนวน 60 ชุด ๆละ 3 บาท เป็นเงิน 180 บาท
  • กระดาษบรู๊ป จำนวน 30 แผ่น ๆละ 5 บาท เป็นเงิน 150 บาท
  • ปากกาเคมี 20 ด้าม ๆละ 15 บาท เป็นเงิน 300 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
12 กันยายน 2566 ถึง 12 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจ ในการจัดการความเครียดตนเองได้ถูกต้องและเหมาะสม
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16620.00

กิจกรรมที่ 5 ติดตามเยี่ยมเพื่อเสริมพลังแก่ผู้มีปัญหาความเครียด

ชื่อกิจกรรม
ติดตามเยี่ยมเพื่อเสริมพลังแก่ผู้มีปัญหาความเครียด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
  • แบบประเมินความสุขและแบบประเมินความเครียด จำนวน 60 ชุด ๆละ 3 บาท เป็นเงิน 180 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 10 ตุลาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ร้อยละของผู้มีปัญหาความเครียดได้รับการเยี่ยมเสริมพลัง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
930.00

กิจกรรมที่ 6 เวทีถอดบทเรียนความสำเร็จของโครงการ

ชื่อกิจกรรม
เวทีถอดบทเรียนความสำเร็จของโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ผู้เข้าอบรม 40 คน ผู้ดำเนินรายการ 1 คน คณะทำงานเจ้าหน้าที่ 4 คน

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 45 คน ๆละ 1 มื้อ ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,125 บาท
  • ค่าตอบแทนผู้ดำเนินรายการ 1 คน จำนวน 3 ชั่วโมง ๆละ 500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
  • กระดาษบรู๊ป จำนวน 20 แผ่น ๆละ 5 บาท เป็นเงิน 100 บาท
  • ปากกาเคมี 10 ด้าม ๆละ 15 บาท เป็นเงิน 150 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
8 พฤศจิกายน 2566 ถึง 8 พฤศจิกายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • การมีส่วนร่วมของประชาชนในการถอดบทเรียนความสำคัญ
  • ผลสำเร็จของการถอดบทเรียน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2875.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 33,695.00 บาท

หมายเหตุ :
*** ทุกรายการเฉลี่ยกันได้ ***

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

- ประชาชนมีการจัดการความเครียดของตนเองได้ดีส่งผลให้มีสุขภาพจิตที่ดี อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข


>