กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเป้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเป้า

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5

1. นางสาวดุษณีย์ แก้วพิทักษ์
2. นางสาวนันทน์ฉัตร เปาะทอง
3. นางจิรา อิทธิปัญญากุล
4. นางบุปผา สุขสามเรือน
5. นางทิพรัตน์ เอียดกลาย

หมู่ที่ 5

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัญหาพื้นฐานในเรื่องสุขภาพอย่างหนึ่งของชุมชนคือ การปวดเมื่อยเคล็ด ขัดยอก ตามร่างกาย วิธีการแก้ไขของชุมชนจะใช้วิธีการนวดซึ่งเริ่มมาจากการช่วยเหลือกันเองในครอบครัวมีการใช้ศอก เข่าและเท้านวดให้แก่กันหรือนวดตนเองเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อลดอาการเจ็บปวดและเมื่อยล้า การนวดจึงเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่ถูกถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งและเป็นการนวดเพื่อสุขภาพเพื่อผ่อนคลายบรรเทาเคล็ด ขัดยอกกล้ามเนื้อและข้อต่อกระตุ้นระบบประสาทให้รู้สึกสดชื้นแจ่มใสผ่อนคลายจิตใจ นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีในระบบครอบครัวและสังคม จึงถือเป็นภูมิปัญญาที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์สืบทอด ด้วยตระหนักถึงความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นในการนวดแผนไทยเพื่อเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพของประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 ตำบลบางเป้า จึงได้จัดทำโครงการนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และได้รับความรู้ ข้อควรระวัง รวมถึงประโยชน์ของการนวดฝ่าเท้า และสามารถนำไปใช้ได้จริง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อฝึกทักษะผู้เข้าอบรมให้สามารถนวดแผนไทยในลักษณะการนวดเพื่อสุขภาพได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยขยายผลสู่ครอบครัวและชุมชน
  1. ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะการนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยขยายผลสู่ครอบครัวและชุมชน
0.00
2 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้เข้าอบรมและนำมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ ในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค เช่น โรคเหน็บชา
  1. ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมอบรมได้นำทักษะการนวดมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ และในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 07/08/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ เสริมสร้างทักษะและพัฒนาการนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ

ระยะเวลาดำเนินงาน
7 สิงหาคม 2023 ถึง 30 กันยายน 2023
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
46200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 46,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะการนวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยขยายผลสู่ครอบครัวและชุมชน
2. ผู้เข้าร่วมอบรมได้นำทักษะการนวดมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลใกล้ชิดด้านการเจ็บป่วยเล็กๆ น้อยๆ และในการส่งเสริมเพื่อป้องกันการเกิดโรค


>