กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการอบรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพกายและส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุตำบลอุใดเจริญ

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมส่งเสริมการดูแลสุขภาพกายและส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุตำบลอุใดเจริญ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลอุใดเจริญ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงอายุมีภูมิคุ้มกันสามารถดูแลตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดี(คน

 

0.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิต(คน)

 

0.00
3 ร้อยละผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดุแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

 

0.00

ประเทศไทยได้เข้าสู่ "สังคมผู้สูงอายุ" มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 กล่าวคือมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ อันเป็นผลมาจากอัตราการเกิดที่ลดลงและความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ ทำให้ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวขึ้น การที่ประชากรวัยสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้ประเทศต้องมีรายจ่ายด้านสวัสดิการเพื่อผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ครอบครัวต้องแบกรับภาระในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้นขระที่ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนรายได้หรือรายได้ไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิต รวมถึงความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังต่างๆ ความพิการหรือทุพพลภาพ สภาพครอบครัวที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต จากที่มีคนหลายรุ่นอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ทำให้ผู้สูงอายุต้องอยู่ตามลำพังขาดผู้ดูแล และอาจเกิดความรู้สึกว่าชีวิตไร้ค่า การพัฒนาคุรภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงควรดำเนินการเพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง และมีบทบาทสำคัญ รวมทั้งต้องส่งเสริมสนับสุนนและแสวงหาความรู้ร่วมมือจากภาคีเครือข่ายเพื่อให้ผู้สูงอายุมีพื้นที่ในการเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชน ไม่ว่าจะเป็นการพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การถ่ายทอดภูมิปัญญา หรือการพัฒนาตนเองด้านต่างๆ เพื่อให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า และชุมชนประจักษ์ในศักยภาพและพลังของผู้สูงอายุ ส่งผลให้ผู้สูงอายุใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรีและมีความสุขศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลอุใดเจริญ ได้ให้ความสำคัญกับผู้สูงอายุ โดยการดูแลคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เช่น การตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต เพื่อส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้สูงอายุในการดุแลตนเอง ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพกาย สุขภาพจิต สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข และเพื่อเป็นการสร้างขวัญ และกำลังใจให้ผู้สูงอายุ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้สูงอายุในการดูแลตนเอง ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
  1. ผู้สูงอายุมีภูมิคุ้มกันสามารถดูแลตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
2 เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาพกาย และสุขภาพจิต
  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิต
3 เพื่อเป็นการสร้างขวัญ กำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดุแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
  1. ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดุแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2018

กำหนดเสร็จ 31/07/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. การส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสมและนันทนาการผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
1. การส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสมและนันทนาการผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.กิจกรรมย่อย การออกกำลังกายด้วยผ้าถุงและนันทนาการ

1.1 ค่าวิทยากร 3ชม. 600บ. 1คน = 1,800 บ.

1.2 ค่าอาหารว่าง 25 บ.*100คน = 2,500 บ.

1.3 ค่าอาหารกลางวัน 80 บ.* 100 คน= 8,000 บ.

1.4 ค่าประสานงาน 250 บ. *2 คน = 500 บ.

1.5 ค่าเช่าเครื่องเสียงพร้อมคาราโอเกะ = 1,500 บ.

1.6ค่าวัสดุ (ลูกโป่ง,แป้ง,จานกระดาษ,ผลไม้ ฯลฯ )= 1,000 บ.

2.กิจกรรมย่อย การออกกำลังกายโดยการเต้นบาสโลบ

2.1 ค่าวิทยากร 6ชม. 600 บ. 1คน = 3,600 บ.

2.2 ค่าอาหารว่าง 2 มื้อ* 25 บ.*50คน = 2,500 บ.

2.3 ค่าเช่าเครื่องเสียง 1,000 บ.

2.4 ค่าประสานงาน 250 บ. *2คน = 500 บ.

ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1ม.3 ม. จำนวน 1ป้าย = 450 บาท *ค่าสรุปเล่มรายงาน จำนวน 2 เล่ม = 200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ทำให้ผู้สูงอายุมีภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเอง ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพกาย สุขภาพจิต สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23550.00

กิจกรรมที่ 2 การเยี่ยมบ้านให้ความรู้และติดตามดูแลสุขภาผู้สูงอายุทีี่ป่วยเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
การเยี่ยมบ้านให้ความรู้และติดตามดูแลสุขภาผู้สูงอายุทีี่ป่วยเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมย่อย ประชุมคณะทำงาน , สำรวจกลุ่มเป้าหมายตามแบบบันทึกข้อมูล , ประชุมคณะทำงานคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย , เยี่ยมบ้านให้คำแนะนำกำลังใจและติดตามกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุที่ป่วยเรื้อรัง จำนวน 30 คน

-ค่าตอบแทนคณะทำงาน 100 บ.*18 คน * 3วัน = 5,400 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ทำให้ผู้สูงอายุมีขวัญ และกำลังใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5400.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้เรื่องภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมย่อย อบรมเรื่องภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

  • ค่าวิทยากร 3 ชม.600 บ.1 คน = 1800 บ.

  • ค่าอาหารว่าง 25 บ. *100 คน = 2500 บ.

  • ค่าเช่าเครื่องเสียง = 1000 บ.

  • ค่าประสานงาน 250 บ.*2 คน = 500 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ทำให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาพกายและ สุขภาพจิต

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5800.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมอบรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมย่อย สันทนาการและอบรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน

  • ค่าวิทยากร 3 ชม.600 บ.1 คน = 1800 บ.

  • ค่าอาหารว่าง 25 บ. 100 คน1 มื้อ = 2500 บ.

  • ค่าเช่าเครื่องเสียง = 1000 บ.

  • ค่าประสานงาน 250 บ.*2 คน = 500 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและ สุขภาพจิต ที่ดี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 40,550.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ทำให้ผู้สูงอายุมีภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเอง ให้มีคุรภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพกาย สุขภาพจิต สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
2. ทำให้ผู้สูงอายุมีขวัญ และกำลังใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
3. ทำให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาพกายและ สุขภาพจิต


>