กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง

โรงเรียนบ้านแซะโมะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 การเสริมสร้างสุขภาพกับการศึกษา เป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไป การพัฒนาเด็กและเยาวชน จึงอยู่ที่กระบวนการจัดการศึกษาและการสร้างสุขภาพ ภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น ซึ่งจะต้องมีการปร

 

0.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียน และมีบรรยากาศในห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้

มีมุมอนามัยครบทุกห้องเรียน

0.00
2 2.เพื่อให้บริการด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน

มีห้องพยาบาลพร้อมให้บริการแก่ผู้เรียนและบุคลากรในโรงเรียน

0.00
3 3.เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง

นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 57
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดมุมอนามัยในห้องเรียน

ชื่อกิจกรรม
จัดมุมอนามัยในห้องเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดมุมอนามัยในห้องเรียน จำนวน  7 ห้องเรียน -ที่แขวนแปรงสีฟัน/แปรงสีพัน/ยาสีฟัน/แก้วน้ำ/ผ้าขนหนู/ถังใส่น้ำดื่ม   เป็นเงิน 10,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10500.00

กิจกรรมที่ 2 จัดห้องพยาบาลพร้อมเวชภัณฑ์ยา

ชื่อกิจกรรม
จัดห้องพยาบาลพร้อมเวชภัณฑ์ยา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดห้องพยาบาลพร้อมเวชภัณฑ์ยา
-  เตียง,ตู้ยา                                                                 เป็นเงิน    9,800  บาท
-  แผ่นภาพโปสเตอร์/ถังใส่น้ำดื่ม/แก้วน้ำ/ผ้าขนหนู                เป็นเงิน    1,500  บาท -  จัดเวชภัณฑ์ยา                                                          เป็นเงิน    2,000  บาท
         รวมเป็นเงิน    13,300   บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13300.00

กิจกรรมที่ 3 การจัดกิจกรรมกีฬาเพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

ชื่อกิจกรรม
การจัดกิจกรรมกีฬาเพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การจัดกิจกรรมกีฬาเพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียน -ค่าอุปกรณ์กีฬา (ฟุตบอล/วอลเล่ย์บอล/เน็ตวอลเลย์บอล/บาสเก็ตบอล/แชร์บอล/ตะกร้าแชร์บอล/เปตอง/เชือกกระโดด/นกหวีด/ตะกร้อ/เน็ตตะกร้อ/ ไม้แบดมินตัน/ลูกขนไก่/ เป็นเงิน9,800บาท รวมเป็นเงิน9,800บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 33,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนได้รู้เรียนรู้ด้านสุขภาพพร้อมทั้งมีห้องอนามัยทุกห้องเรียน
2.มีบริการด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
3.นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และมีความสามัคคีเป็นหมู่คณะ


>