กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก ฟันสวย ยิ้มใส โรงเรียนบ้านตะบิ้ง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง

โรงเรียนบ้านตะบิ้ง

โรงเรียนบ้านตะบิ้ง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็กวัยเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากมีโอกาสทุกข์ทรมานจากอาการเจ็บปวด ขาดเรียน และกระทบการดำเนินกิจกรรมประจำวัน การส่งเสริมสุขภาพช่องปากในโรงเรียนจึงมีความสำคัญ และสุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพช่องปากได้ดีจึงมีผลต่อสุขภาพที่ดีด้ว

 

1.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพในช่องปากให้เด็กในวัยเรียนชั้นอนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในชีวิตประจำวันได้
  1. ร้อยละของนักเรียนร่วมกันปฏิบัติเพื่อเสริมสร้างสุขภาพฟัน และช่องปาก
  2. ร้อยละนักเรียนสามารถนำความรู้มาใช้ในชีวิตประจำวันได้
1.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 64
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2023

กำหนดเสร็จ 31/03/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้แก่นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่าย-ค่าวิทยากร จำนวน 1 คนๆ ละ 6 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 225 คน ๆ ละ 25 บาท : มื้อจำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 5,625

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 พฤศจิกายน 2566 ถึง 13 พฤศจิกายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลฟัน และช่องปาก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9225.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 การสาธิตการแปรงฟัน และการแปรงฟันหลังอาหารเที่ยงทุกวัน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 การสาธิตการแปรงฟัน และการแปรงฟันหลังอาหารเที่ยงทุกวัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การแปรงฟันหลังอาหารเที่ยงทุกวัน ค่าใช้จ่ายค่าวัสดุ 1. แปรงสีฟัน จำนวน 205 อัน ๆ ละ 35 บาทเป็นเงิน 7,175 บาท 2. ยาสีฟัน ขนาด 150 กรัม (แพ็คคู่)85 แพ็คๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 12,750 บาท
3. แก้วน้ำสแตนเลส ขนาด 8 ซม. จำนวน 205 ใบๆ ละ 55 บาท เป็นเงิน 11,275 บาท 4. ถังน้ำพลาสติกมีฝาปิด ขนาด 5.5 กล. จำนวน 9 ใบ ๆ ละ 100 เป็นเงิน 900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนสามารถแปรงฟันได้ถูกต้องและสะอาด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
32100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 41,325.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีความรู้ ความสามารถและมีทักษะในการดูแลช่องปากและสุขภาพฟัน
2. เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 แปรงฟันถูกวิธี
3. เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีสุขภาพในช่องฟันที่ดี


>