กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กุดเสลา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ ๒๕๖๖

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กุดเสลา

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาขนวน

1.นายฐปกฤตทินวงศ์
2.นางปาริชาติ ทินวงศ์

พื้นที่ตำบลกุดเสลา 5 หมู่บ้าน โรงเรียน วัด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และพื้นที่เกิดการระบาท

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงและโรคติดต่อจากสาเหตุอื่นๆนั้น นับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในระดับประเทศ และจากภาวะโรคร้อน อากาศแปรปรวน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโรคติดต่อที่สำคัญ เช่นโรคไข้เลือดออก ไข้ไวรัสซิก้า ไข้สมองอักเสบ ไข้มาลาเรีย เป็นต้น เพื่อเป็นการดูแลผู้ป่วยและเฝ้าระวังโรคติดต่อที่สำคัญแก่ประชาชน ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาขนวน อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษจึงได้ทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญแก่ประชาชนเพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมและมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และการสอบสวนโรค และส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ พร้อมทั้งเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพต่อไปหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาขนวนมีสถิติการเกิดโรคไข้เลือดออก ปี2560 จำนวน 14 ราย ปี 2561 จำนวน 9 ราย ปี 2562 จำนวน 8 ราย ปี 2563 จำนวน 2 ราย ปี 2564 จำนวน 0 ราย ปี 2565 จำนวน 0 ราย ทั้งนี้เพราะมีการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้จำนวนผู้ป่วยและอัตราการป่วย อยู่ในเกณฑ์ของการเฝ้าระวังและควบคุมโรค ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกเป็นไปอย่างมีประสิทฺธิภาพ และต่อเนื่อง จึงได้มีการประสานขอความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณดำเนินงานจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเสลา ซึ่งจะดำเนินโครงการระหว่างวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๖ ถึง วันที่ วันที่ ๓๐กันยายน ๒๕๖๖ ในพื้นที่หมู่บ้านเขตรับผิดชอบ จำนวน 10 หมู่บ้าน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ได้ตามมาตรฐาน
2.เพื่อสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรค
3.เพื่อเฝ้าระวังโรคติดต่อในชุมชน ได้แก่ โรคไข้เลือดออก

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 รณรงค์ให้ความรู้และดำเนินการควบคุมป้องกันโรคไข้เลืดออก

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์ให้ความรู้และดำเนินการควบคุมป้องกันโรคไข้เลืดออก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
27000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.วัด โรงเรียน ส่วนราชการ และหลังคาเรือนในเขตรับผิดชอบได้รับการป้องกันโรคด้วยการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
2.สอบสวนโรค และควบคุมโรคไข้เลือดออก พื้นที่ระบาด ร้อยละ100ตามมาตรการควบคุมโรค
3.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50ต่อแสนประชากร


>