กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กุดเสลา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริโภคเหมาะสม บ่มเพาะสุขบัญญัติ 10 ประการ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กุดเสลา

โรงเรียนบ้านกันจาน

1.นายพงษ์พัฒน์ศรีสวัสดิ์
2.นางสาวสำราญคำสุมาลี

โรงเรียนบ้านกันจาน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานสุขภาพจิต

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ด้วยปัจจุบันสถานการณ์แนวโน้มสุขภาพของประชาชนมีความเสี่ยงมากขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของประชากรและสิ่งแวดล้อมส่งผลให้พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กไม่ถูกต้องทำให้หเด็กขาดสารอาหารและมีภาวะโภชนาการเกินการเจริญเติบโตช้าเจ็บป่วยบ่อยความสามารถในการเรียนรู้ด้อยผลสัมฤทธิ์ในการเรียนต่ำและสมรรถภาพในการทำกิจกรรมและการเล่นกีฬาต่ำปัญหาสุขภาพนั้นมีสาเหตุมากจากหลายประการทั้งเรื่องของรับประทานอาหารการดื่มน้ำการดูแลสุขภาวะส่วนบุคคลรวมทั้งพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องซึ่งล้วนก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพที่อันตรายทั้งสิ้นโดยการเลือกอาหารนอกจากจะคำนึงถึงคุณค่าอาหารปริมาณอาหารและยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของอาหารที่เรารับประทานเข้าไป อาหารที่ไม่สะอาดอาจจะมีการปนเปื้อนของสารเคมีเชื้อแบคทีเรียเชื้อไวรัสทำให้เกิดโรคต่างๆ มากมายซึ่งหากเป็นมากอาจจะทำให้เสียชีวิตโรงเรียนบ้านกันจานได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพฤติกรรมการบริโภคที่พึงประสงค์ โดยมุ่งปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพพื้นฐานด้านการบริโภคให้ถูกต้องและยั้งยืน ด้วยการส่งเสริมพัฒนาความรู้ด้านสุขภาพ ควบคู่กับการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพต่างๆ อย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุนการจัดกิจกรรมเรียนรู้เรื่องการบริโภคและโภชนาการที่ดีส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ ให้นักเรียนได้ดูแลสุขภาพเป็นประจำกินอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม ออกกำลังกายล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังจากสัมผัสสิ่งสกปรกรวมถึงการสร้างแกนนำสุขบัญญัติในโรงเรียนเพื่อเป็นผู้ดำเนินงานพัฒนาสุขภาพร่วมกันเพื่อให้เกิดกิจกรรมที่สร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อการดูแลสุขภาพและการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้เอื้อต่อการปฏิบัติตามสุขบัญญัติแห่งชาติ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่ดีแก่นักเรียนโรงเรียนบ้านกันจาน
2.เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายของนักเรียนโรงเรียนบ้านกันจาน
3.เพื่อส่งเสริมสุขบัญญัติ ๑๐ ประการแก่ผู้เรียน
4.เพื่อให้ความรู้เรื่องสุขภาพแก่นักเรียนโรงเรียนบ้านกาันจาน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 44
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 22/05/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้/ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้/ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถเลือกรับประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัย
2.นักเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาวะของตนเอง


>