กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการขยับกายสบายชีวีด้วยการเต้นแอโรบิก ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา เทศบาลเมืองสตูล

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล

ชมรมโยคะเพื่อสุขภาพ&แอโรบิกผสม(ซุมบ้า)

1. นางนิตยา อังกิตติสวัสดิ์ประธานกรรมการเบอร์ติดต่อ 081-5430535
2. นางวัชรี โต๊ะเอียดรองประธานเบอร์ติดต่อ 091-0488612
3. นางเกสสุดามานะเวช เหรัญญิกเบอร์ติดต่อ 086-9604287
4. นางสาวบุญประภาช่วยชม สมาชิกเบอร์ติดต่อ 094-5922668
5. นางสารีย์วงศ์สัมพันธ์ สมาชิก เบอร์ติดต่อ092-1289868

ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาอ.เมืองสตูลจ.สตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมเต้นแอโรบิค ศูนย์วิทยาศาสตร์ (คน)

 

25.00

ชมรมโยคะเพื่อสุขภาพ&แอโรบิกผสม(ซุมบ้า) ได้เล็งเห็นความสำคัญและปัญหาการเกิดโรคภัยต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับผู้คน ซึ่งพบว่าปัจจัยหลายๆ อย่างที่ส่งผลให้คนในชุมชน และในพื้นที่ไม่ค่อยให้ความใส่ใจหรือสใจการออกกำลังกาย ส่วนหนึ่งมาจากสถานที่ในการออกกำลังกายอยู่ไกล ขาดผู้นำการออกกำลังกาย หรือ สภาพสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่างๆ ทางชมรมฯ จึงให้ความสำคัญและอยากส่งเสริมและให้มีพื้นที่สำหรับการออกกำลังกายที่พอเพียง สะดวก และเหมาะสมกับวัย เพื่อลดความเหนื่อยล้าจากการทำงาน เพิ่มประสิทธิภาพให้ร่างกายแข็งแรง จิตใจแจ่มใส ลดความเครียด และเมื่อยล้าจากการทำงาน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเพิ่มกิจกรรมทางกายโดยการเต้นแอโรบิค

จัดกิจกรรมเต้นแอโรบิคอย่างต่อเนื่อง สัปดาห์ไม่น้อยกว่า 3 วัน และมีคนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 20คน

0.00 20.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงจากการออกกำลังกาย

บุคคลต้นแบบมีสุขภาพดี อย่างน้อย 3 คน

0.00 3.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/12/2023

กำหนดเสร็จ 30/06/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ขยับกายสบายชีวีด้วยการเต้นแอโรบิก

ชื่อกิจกรรม
ขยับกายสบายชีวีด้วยการเต้นแอโรบิก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขั้นตอนการทำกิจกรรม :
1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนเข้าร่วมกิจกรรมโครงการในชุมชนจำนวน 2 ป้าย ขนาด 1.5* 2 เมตร
3. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ ต่างๆ และจัดหาผู้นำเต้น
4. จัดหาสถานที่ และเพลง เพื่อใช้สำหรับออกกำลังกาย
5. มีกลุ่มเป้าหมายชัดเจน ในการดำเนินกิจกรรม
6. บรรลุเป้าหมายโครงการ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพร่างกาย และจิตใจที่แข็งแรง
กระบวนการดำเนินงาน :จัดกิจกรรมทุกวันอังคาร-วันอาทิตย์เวลา 17.30 น.- เวลา 18.30 น. ห้องออกกำลังกาย ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาอ.เมืองจ. สตูล
งบประมาณ:
1. ค่าตอบแทนครูนำเต้น (3,600 บาท x 6 เดือน)เป็นเงิน 21,600บาท
2. ค่าวัสดุอุปกรณ์ เช่น แผ่นเพลงจำนวน 4 แผ่นๆละ 500 บาท เป็นเงิน 2,000บาท
3. ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1 เมตร * 3 เมตร ตารางเมตรละ 150 บาท เป็นเงิน 450 บาท
4. ป้ายประชาสัมพันธ์เชิญชวนเข้าร่วมโครงการ จำนวน 2 ป้าย ขนาด 1.5* 2 เมตร เป็น 900 บาท
รายชื่อสมาชิกกลุ่มชมรมโยคะเพื่อสุขภาพ & แอโรบิกผสม(ซุมบ้า)
1. นางสาวอุบลวรรณ แสงเอียด
2. นางสาวอิสรีย์ แก้วพวงค์
3. นางสาวสุคนธ์รัตน์ คงแก้ว
4. นางสาวอาชานะส์ เล็กหีม
5. นางนันทนา อิศโร
6. นางฐิตาพร แก้วเอียด
7. นาสาวอาอีซะส์ หลงจิ
8. นางสาวสารีนา มะอาลา
9. นางจุรีรัตน์ สามัญ
10. นางสมสวาท ลีมานัน
11. นางสาวปวริศา ทรัพย์ชาต
12. นางกัลยา จิตรแป้น
13. นางสาวโซเฟีย ตะลามะ
14. นางสาวจุฬาภรณ์ ตรงจิตร
15. นางอัจฉรา บุญช่วย
16. นางสุปราณี นภาสวัสดิ์
17. นางฤทัยรัตน์ จันทร์หอม
18. นางฐปณีย์ เทพไชย
19. นางสาววินีดา ประทีปวัฒนพันธ์
20. นางพัชรี กะลาสี
21. นางรัขนีพรรณ ทรงเนติวุฒิ
22. นางสาวกชกร ติ้งถิ่น
23. นางสาววันเพ็ญ เสมอภพ
24. นางอรุณี สังข์แก้ว
25. นางจิราภรณ์ ทองเกลี้ยง
26. นางสาวสุนีย์ น่าบี
27. นางอรอนงค์ วิเชียรไชย
28. นางนอรี กาสาและ
29. นางสาวสมปรารถนา อาดัม
30. นางรัชฎา ปิยะวงศ์

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนในชุมชน และ บุคคลทั่วไป มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และมีจิตใจที่แจ่มใส ลดภาวะการตึงเครียด เหนื่อยล้าจากทำงาน  ลดการเกิดโรคต่างๆ ที่อาจตามมา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
24950.00

กิจกรรมที่ 2 ประเมินผลโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประเมินผลโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม และการคัดเลือกบุคคลต้นแบบการมีสุขภาพดีจากการเข้าร่วมกิจกรรม อย่างน้อย 3 คน
งบประมาณ
1.ค่าถ่ายเอกสารที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 200 บาท
2.จัดทำสรุปผลการดำเนินงานโครงการ จำนวน 2 เล่มๆละ 250 บาท เป็นเงิน500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คัดเลือกบุคคลต้นแบบการมีสุขภาพดี จำนวน 3 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
700.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,650.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการถัวเฉลี่ยได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เพื่่อส่งเสริมให้บุคคลทุกเพศทุกวัย ที่สนใจและรักการออกกำลังกายมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีสุขภาพจิตที่ดี
2. เพื่อลดภาวการณ์การบาดเจ็บด้วยโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้น หรือ บรรเทาอาการเบื้องต้นของโรคได้ มีเรามีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
3. เพื่อให้ร่างกายและจิตใจได้เกิดความคลาย นำไปสู่การมีสมาธิ ลดความตึงเครียด
4. เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และมีส่วนร่วมทำกิจกรรมร่วมกันในชุมชน
5. เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีในชุมชน


>