กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโร๊ะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กอายุ 0-2 ปี ปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโร๊ะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปูแล บาโร๊ะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่ง การพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ต้องเริ่มต้นตั้งแต่ระยะแรกเกิด เด็ก เป็นกลุ่มประชากรที่มี
ความสำคัญ ทั้งนี้พราะเด็กในวัยก่อนเรียนเป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย และสติปัญญา ประกอบกับการมี
พัฒนาการด้านต่าง ๆ ที่มีผลต่อการกำหนดพฤติกรรม และความสามารถในการปรับตัวต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพใน
อนาคต ภาวะโภชนาการของเด็กในวัยนี้มีความสำคัญมาก เนื่องจากการมีภาวะโภชนาการที่ดีส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านร่างกายและ
สติปัญญาของเด็ก
จากข้อมูลงานการฝ้าระวังทางโภชนาการเด็กอายุ แรกเกิด - 2 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลบาโร้ะ ไตรมาสที่ 4
ปีงบประมาณ 2566 (ข้อมูลจาก HDC ) เด็กอายุ แรกเกิด - 2 ปี จำนวน 571 คน ดำเนินการชั่งน้ำหนักจำนวน 560 คน คิดเป็นร้อยละ
98.07 พบว่า เต็กมีภาวะทุพโภชนาการเด็กที่เตี้ย จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 8.41 เต็กที่ผอม จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 8.39
กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเป้าหมายให้เด็กวัยก่อนเรียน (แรกเกิด - 2 ปี) เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนร้อยละ 65 เด็กที่
องไม่เกินร้อยละ 10 เด็กที่ต้องไม่เกินร้อยละ 4 และจากการคัดกรองภาวะซีดในเต็กอายุ 6 เดือน ถึง 1 ปี จำ
ภาวะขีด 27 คน คิดเป็นร้อยละ 28.42 จากการทำเวทีประชาคมประเต็นที่เกี่ยวข้องที่เป็นสาเหตุต่อการพัฒนาง
พัฒนาการเด็ก สาเหตุมาจากหลายๆปัจจัยคือ การเลี้ยงดูของผู้ปกครองและพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการขาดความรู้ความ
ตระหนักถึงการให้อาหารเสริมตามวัยและขาดการสังกตพัฒนาการของลูก ครอบครัวมีฐานะยากจน มารดามีภาวะชีดขณะตั้งครรภ์ก็
ส่งผลให้เด็กมีภาวะซีดตามมาซึ่งส่งผลกับการสร้างเชล์สมองของเด็กมีผลต่อ EQ.และ IQ.ของเด็ก ตามมา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปูแล บาโร้ะ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหา ทั้งนี้จึงมีการจัดอบรมให้ความรู้
อาสาสมัครประจำหมู่บ้านเพื่อเป็นแกนนำต้านสุขภาพให้มีความรู้ความเข้าใจในการให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครอง และผู้ปกครอง
ความตระหนักในการดูแลบุตรอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้เต็กได้รับการปลูกฝังพฤติกรรม สุขภาพ ทั้งด้านการดูแล สุขภาพตนเอง
และดูแลความสะอาดของสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ยิ่งขึ้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโต
ในเด็กอายุ 0 - 2 ปี ปี 2567

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 571
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 106
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>