กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะใหญ่

ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านไร่

1.นางนงเยาว์พิพิธภัณฑ์
2.นางชฎาทองแท่นแก้ว
3.นางยุภาพแซ่จิ๋ว
4.นางนงนารถเต็มแก้ว
5.นางธัมมะทินนาสมนึก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญ การระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมากเนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่าง จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่ม

 

1.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1. เพื่อดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์

สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์

0.00
2 ข้อที่ 2.เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และภาชนะเสี่ยงในชุมชน วัด และโรงเรียนที่เป็นแหล่งโรค

ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และภาชนะเสี่ยงในชุมชน วัดและโรงเรียน

0.00
3 ข้อที่ 3 เพื่อประชาสัมพันธ์สถานการณ์และให้ความรู้ประชาชนสร้างความตระหนักต่อการป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ตำบลเกาะใหญ่

ประชาชนมีความรู้และตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

0.00
4 ข้อที่ 4 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

ประชาชนสามารถลดอัตราป่วยด้วยไข้เลือดออก

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,546
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

ชื่อกิจกรรม
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและสำรวจภาชนะเสี่ยงต่าง และปรับปรุงสิ่่งแวดล้อมทางกายภาพในชุมชน โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลเกาะใหญ่ 2.จัดทำสื่อประชาสัมพันะ์การควบคุมโรคไข้เลือดออก 3.จัดกิจกรรมรณรงค์ควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาลและโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ตำบลเกาะใหญ่ 4.สนับสนุนการรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลาย 5.ควบคุมทำลายตักแก่โดยการพ่นสารเคมีด้วยหมอกควัน หรือการพ่นฝอยละอองก่อนการระบาดของโรคและช่วงการระบาดของโรคไข้เลือดออก 6.สรุปปัญหาและข้อเสนอแนะ และประเมินผลการดำเนินงาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชาชนทุกกลุ่มอายุ 2.มีการเฝ้าระวัง สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง 3.ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน 4.การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน 5.มีกิจกรรมการรณรงค์การควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
79340.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 79,340.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชาชนทุกกลุ่มอายุ
2.มีการเฝ้าระวัง สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง
3.ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
4.การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
5.มีกิจกรรมการรณรงค์การควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง


>