กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารจัดการและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545ในหลายมาตราได้กำหนดให้ประชาชนและท้องถิ่นมีส่วนร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในหลายรูปแบบทั้งในส่วนของการบริหารการจัดการการตรวจสอบและรับรองคุณภาพบริการที่ผ่านมาสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้รับสนับสนุนการมีส่วนร่วมประชาชนในหลายรูปแบบด้วยกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อให้ประชาชนได้รับทราบได้รับทราบสิทธิได้ร่วมกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้มีความพร้อมในการเข้าไปมีส่วนในระบบหลักประกันสุขภาพมากขึ้นในอนาคตในส่วนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถมีส่วนร่วมในการพัฒนาและร่วมบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อเป็นไปตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 ในมาตรา 13 (3) มาตรา 18 (8) มาตรา 47 และมาตรา 48 (4) ที่กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์ประชุมองค์กรเอกชนและภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการแสวงหาผลกำไรดำเนินงานและบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการโดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ให้คณะกรรมการสนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรดังกล่าวเป็นผู้ดำเนินการและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน
ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี 2567 เพื่อให้ประชาชนได้รับทราบสิทธิ ได้ร่วมกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้มีความพร้อมในการเข้าไปมีส่วนในระบบหลักประกันสุขภาพ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อการบริหารจัดการและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ
  • จัดประชุมคณะกรรมการกองทุน  4 ครั้ง -  มีรายงานการประชุม  4 ครั้ง
0.00
2 เพื่อเป็นเวทีในการพิจารณา/คัดกรองโครงการงบกองทุนหลักประกันสุขภาพ

 

0.00
3 เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 21
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน อบต.พร่อน ครั้งที่ 1/2567

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน อบต.พร่อน ครั้งที่ 1/2567
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
12 ธันวาคม 2566 ถึง 12 ธันวาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กองทุนหลักประกันสุขภาพมีการบริหารจัดการและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ
2. เป็นเวทีในการพิจารณา/คัดกรองโครงการงบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
3. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่


>