กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและจิตของผู้สูงอายุ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน

ชมรมผู้สูงอายุตำบลวัดขนุน

1.นายจิตรโกทโน
2.นางระบายสุขสวัสดิ์
3.นางถนอม ทองธีรภาพ
4.นางอารีย์ แสงแวว
5.นายชวลิต มัชฌิมาภิโร

ตำบลวัดขนุน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ชมรมผู้สูงอายุตำบลวัดขนุน ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลวัดขนุน รวมถึงเข้าใจสภาพปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุกๆด้านดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพกายและจิตของผู้สูงอายุขึ้น โดยจัดกิจกรรมต่างๆ ให

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเบื้องต้น

ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้นร้อยละ 60

50.00 60.00
2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะและเปลี่ยนประสบการณ์และรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง

ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง

50.00 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 150
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้สุขภาพผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้สุขภาพผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมย่อย -อบรมให้ความรู้ เรื่องการดำรงชีวิตแบบสูงวัยที่มีคุณภาพและการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และกิจกรรมออกกำลังกาย/สันทนาการ

-อบรมให้ความรู้ เรื่องอุบัติเหตุที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ และกิจกรรมออกกำลังกาย/สันทนาการ

-อบรมเชิงปฏิบัติการ การทำน้ำยาทำความสะอาดเพื่อสุขภาพ และกิจกรรมออกกำลังกาย/สันทนาการ

-อบรมให้ความรู้ เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างวัย และกิจกรรมยกย่องเชิดชูเกียรติแก่ผู้สูงอายุให้ปรากฏแก่สังคม (รดน้ำขอพรผู้สูงอายุ)

-อบรมให้ความรู้ เรื่องการใช้สมุนไพรในชีวิตประจำวันและกิจกรรมออกกำลังกาย/สันทนาการ

-อบรมให้ความรู้ เรื่องการจัดการสภาพแวดล้อมและที่พักอาศัยในวัยผู้สูงอายุที่เหมาะสม และกิจกรรมออกกำลังกาย/สันทนาการ

-อบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก และกิจกรรมออกกำลังกาย/สันทนาการ

-อบรมให้ความรู้ เรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมออกกำลังกาย/สันทนาการ

-อบรมให้ความรู้ เรื่องจิตอาสาเพื่อชีวิต และสังคมและกิจกรรมพัฒนาวัด

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุตำบลวัดขนุนมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

2.ผู้สูงอายุได้มีการพบปะและเปลี่ยนประสบการณ์และรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง

3.ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้นได้ตามความเหมาะสม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
50000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 50,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุตำบลวัดขนุนมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

2.ผู้สูงอายุได้มีการพบปะและเปลี่ยนประสบการณ์และรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง

3.ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพตนเองเบื้องต้นได้ตามความเหมาะสม


>