กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการประชาชนสุขศาลาพระราชทาน สุขภาพดี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน

สุขศาลาพระราชทาน โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านลีนานนท์ (สุมิตร เลิศสุมิตรกุล)

สุขศาลาพระราชทาน โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านลีนานนท์ (สุมิตร เลิศสุมิตรกุล)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เนื่องด้วยสุขศาลาพระราชทาน ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านลีนานนท์ (สุมิตร เลิศสุมิตรกุล) มีการส่งเสริมด้านสุขภาพของนักเรียนและประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของสุขศาลาพระราชทานอย่างต่อเนื่องและมีการประสาน รพ.สต.พี่เลี้ยง/รพ.พี่เลี้ยง ของสุขศาลาพระราชาน ด้านสุขภาพของนักเรียนและประชาชนโดยรอบอย่างต่อเนื่องนอกจากนี้ยังรับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียน การส่งเสริมด้านสุขภาพของนักเรียนและประชาชนนอกจากนี้สุขศาลาพระราชทานได้ตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวสุขภาพด้านช่องปากในนักเรียน และการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก จึงจัดทำกิจกรรมขึ้นมาเพื่อครอบคลุมการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ ซึ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนและประชาชนภายใต้ประชาชนสุขศาลาพระราชทานสุขภาพดีในการดูแลสุขภาพนักเรียนและประชาชนเป็นหลัก

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี 2.ส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก 3.ให้ความรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 4.เพื่อให้ประชาชนและนักเรียนในพื้นที่ตระหนักถึงโทษของยาเสพติดและแก้ไขปัญาหาในชุมชนเรื่องยาเสพติด 5.นักเรียนและประชาชนได้มีความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs)

1.นักเรียนดูแลช่องปากถูกวิธี 2.แม่และเด็กหลังคลอดมีสุขภาพที่ดี 3.ประชาชนและนักเรียนเข้าใจการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรมากขึ้น 4.ประชาชนและนักเรียนเข้าใจเรื่องยาเสพติดมากขึ้น 5.ประชาชนและนักเรียนเข้าใจเรื่องโรคที่ไม่ติดต่อได้และการดูแลสุขภาพตัวเอง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 109
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/01/2024

กำหนดเสร็จ 01/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.อบรมให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพช่องปาก

ชื่อกิจกรรม
1.อบรมให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวิทยากร 3 ชม 300 x 3 = 900 บาท ค่าอาหารว่าง 109 x 25 = 2,725 บาทแปรงสีฟัน 109 x 25 = 2,725 บาทยาสีฟัน 109 x 12 = 1,308 บาท กิจกรรมช่วงบ่ายนันทนาการและการปฏิบัติ

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2567 ถึง 1 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.นักเรียนได้ความรู้การดูแลช่องปาก 2.นักเรียนมีความสนใจในการดูแลช่องปากมากขึ้น 3.นักเรียนดูแลช่องปากอย่างถูกวิธี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7658.00

กิจกรรมที่ 2 2.ส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก

ชื่อกิจกรรม
2.ส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวิทยากร 3 ชม 300 x 3 = 900 บาท ค่าไวนิล 720 บาท ค่าอาหารว่าง 100 x 25 = 2500 บาท ค่าอาหารเที่ยง 100 x 50 = 5000 บาท กิจกรรมช่วงบ่ายนันทนาการและภาคปฏบัติการดูแลแม่และเด็กหลังคลอด

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2567 ถึง 1 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.การดูแลแม่หลังคลอดอย่างถูกวิธี 2.การดูแลเด็กแรกเกิดอย่างถูกวิธี 3.การดูแลให้นมบุตรตั้งแต่คลอดถึง 6 เดือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9120.00

กิจกรรมที่ 3 3.ให้ความรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

ชื่อกิจกรรม
3.ให้ความรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวิทยากร 3 ชม 300 x 3 = 900 บาท ค่าอาหารว่าง 100 x 25 = 2500 บาท ค่าอาหารเที่ยง 100 x 50 = 5000 บาท
กิจกรรมช่วงบ่าย กิจกรรมนันทนาการและภาคปฏิบัติ

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2567 ถึง 1 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.การป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยควร 2.การแก้ปัญหาและป้องกันตัวต่อความเสี่ยงตั้งครรภ์ 3.ความรู้ด้านการป้องกันการครรภ์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8400.00

กิจกรรมที่ 4 4.อบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

ชื่อกิจกรรม
4.อบรมให้ความรู้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวิทยากร 3 ชม 300 x 3 = 900 บาท ค่าอาหารว่าง 100 x 25 = 2500 บาท ค่าอาหารเที่ยง 100 x 50 = 5000 บาท กิจกรรมช่วงบ่าย กิจกรรมนันทนาและภาคปฏิบัติ

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2567 ถึง 1 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เด็กและเยาวชนมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด 2.การใช้เวลาว่างให้มีประโยชน์ 3.เฝ้าระวังการแพร่กระจายของยาเสพติดในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8400.00

กิจกรรมที่ 5 5.อบรมให้ความรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)

ชื่อกิจกรรม
5.อบรมให้ความรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวิทยากรบรรยายความรู้ 3 ชม 300 x 3 = 900 บาท ค่าอาหารว่าง 100 x 25 = 2500 บาท ค่าอาหารเที่ยง 100 x 50 = 5000 บาท กิจกรรมช่วงบ่ายกิจกรรมนันทนาการและภาคปฏิบัติ

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2567 ถึง 1 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2.การดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น ความเบา ความดันโลหิตสูง เป็นต้น 3.ให้ประชาชนห่างไกลโรค

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 41,978.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนและประชาชนมีสุขภาพที่ดี
2.นักเรียนและประชาชนมีความรู้ด้านสุขภาพที่ดี
3.ให้นักเรียนและประชาชนมีความสนใจเรื่องสุขภาพที่ดีขึ้น


>