กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพ อบต.ท่าช้าง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขในชุมชน ปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพ อบต.ท่าช้าง

ชมรมคุ้มครองผู้บริโภค รพ.สต.บ้านนาขุม

นายมานิตย์บัวขำ ประธานชมรมคุ้มครองผู้บริโภค
นายประทีปจันทร์สอน รองประธาน
น.ส.อรวรรณ คงพ่วง เลขา

ชมรมคุ้มครองผู้บริโภค รพ.สต.บ้านนาขุม

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 อาหารมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ แต่หากอาหารนั้นมีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อน หรือแม้แต่มีสารที่อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้ แต่มีปริมาณที่มากกว่าที่กำหนดก็ย่อมให้เกิดพิษภัยกับผู้บริโภค ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต

 

60.00
2 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

 

5.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและตรวจสอบร้านค้าและร้านจำหน่ายอาหารภายในเขตพื้นที่เป้าหมาย

ร้านอาหารและแผงลอย  จำหน่ายอาหาร  และร้านขายอาหารสด  ได้รับการตรวจหาสารปนเปื้อนอาหาร ร้อยละ 90

90.00
2 เพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้และพัฒนาศักยภาพของอสม. ในด้านการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน

ผู้เข้ารับการอบรมคุ้มครองผู้บริโภค มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพ หลังเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80

80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. ดำเนินการตรวจร้านชำร้านขายของสดและออกตรวจประเมินผลิตภัณฑ์สุขภาพ / ตลาดนัดน่าซื้อ / ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร

ชื่อกิจกรรม
1. ดำเนินการตรวจร้านชำร้านขายของสดและออกตรวจประเมินผลิตภัณฑ์สุขภาพ / ตลาดนัดน่าซื้อ / ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 10 กุมภาพันธ์ 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2.ดำเนินการตรวจสอบความสะอาดปราศจากเชื้อแบคทีเรียของร้านขายอาหาร และแผงลอยจำหน่าย อาหาร โดยใช้ชุดตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรีย SI-2

ชื่อกิจกรรม
2.ดำเนินการตรวจสอบความสะอาดปราศจากเชื้อแบคทีเรียของร้านขายอาหาร และแผงลอยจำหน่าย อาหาร โดยใช้ชุดตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรีย SI-2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ชุดทดสอบน้ำยาตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียขั้นต้น SI-2 (1 ชุดๆ ละ 950 บาท)  เป็นเงิน    950 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 เมษายน 2567 ถึง 26 เมษายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
950.00

กิจกรรมที่ 3 3.อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขในชุมชน แก่ภาคีเครือข่าย ได้แก่ อสม. , กลุ่มเจ้าของร้าน และกลุ่มผู้ป่วย

ชื่อกิจกรรม
3.อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขในชุมชน แก่ภาคีเครือข่าย ได้แก่ อสม. , กลุ่มเจ้าของร้าน และกลุ่มผู้ป่วย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ แกนนำสุขภาพ  และตัวแทนผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัจจัยเสี่ยง         -  ค่าอาหารกลางวัน ( 60 บาท X 90 คน )/อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 2 มื้อ (35 บาท X 90 คน)
            จำนวน 90 คนๆละ 130 บาท                        เป็นเงิน 11,700 บาท     -  ค่าวัสดุอบรม จำนวน 90 คนๆละ 25 บาท (สมุด  ปากกา  แฟ้ม)        เป็นเงิน   2,250 บาท     -  ค่าป้ายในการอบรม ขนาด 1.2 * 2.4 เมตร  จำนวน 1 ผืนๆละ 520 บาท เป็นเงิน     520 บาท     -  ค่าวิทยากรในการจัดอบรม ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน  6 ชั่วโมง     เป็นเงิน  3,600 บาท
    รวมเป็นเงิน 18,070  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 พฤษภาคม 2567 ถึง 17 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18070.00

กิจกรรมที่ 4 4.ตรวจตลาดนัด เพื่อตรวจมาตรฐานตลาดนัดและตรวจหาสารปนเปื้อน 5 ชนิด (บอแรกซ์ ฟอร์มาลีน สารกันรา สารฟอกขาว และยาฆ่าแมลง) ในอาหารและตรวจน้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ

ชื่อกิจกรรม
4.ตรวจตลาดนัด เพื่อตรวจมาตรฐานตลาดนัดและตรวจหาสารปนเปื้อน 5 ชนิด (บอแรกซ์ ฟอร์มาลีน สารกันรา สารฟอกขาว และยาฆ่าแมลง) ในอาหารและตรวจน้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมการตรวจหาสารปนเปื้อนอาหารและตรวจน้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพในตลาดนัด -  ชุดตรวจอาหารปลอดภัยสารบอแรกซ์ (50 ตัวอย่างต่อชุด) 1 ชุดๆ ละ 270  บาท เป็นเงิน 270 บาท -  ชุดตรวจอาหารปลอดภัยสารกันรา (50 ตัวอย่างต่อชุด)  1 ชุดๆ ละ 290 บาท
เป็นเงิน 290 บาท -  ชุดตรวจอาหารปลอดภัยฟอร์มาลีน (50 ตัวอย่างต่อชุด) 1 ชุดๆ ละ 1,360 บาท
เป็นเงิน 1,360 บาท -  ชุดตรวจอาหารปลอดภัยสารฟอกขาว (50 ตัวอย่างต่อชุด) 1 ชุดๆ ละ 230 บาท
เป็นเงิน 230 บาท -  ชุดตรวจอาหารปลอดภัยน้ำมันทอดซ้ำ (30 ตัวอย่างต่อชุด) 1 ชุดๆ ละ 1,150 บาท
เป็นเงิน 1,150 บาท รวมเป็นเงิน  3,300  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 กรกฎาคม 2567 ถึง 12 กรกฎาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,320.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. มีทะเบียนฐานข้อมูลสถานที่ขายจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทางด้านสุขภาพและร้านค้าที่เป็นปัจจุบัน
2. ผู้เข้ารับการอบรมคุ้มครองผู้บริโภค มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพ หลังเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80
3. ร้านอาหารและแผงลอย จำหน่ายอาหาร และร้านขายอาหารสด ได้รับการตรวจหาสารปนเปื้อนอาหาร ร้อยละ 90


>