กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสถานการณ์ปัจจุบันสภาพของสังคมโลกได้เปลี่ยนแปลงไป การประกอบอาชีพได้เปลี่ยนจากการประมงหันไปทำงานโรงงานหรือบริษัทในตัวเมือง ต่างจังหวัด และประเทศใกล้เคียงอย่างมาเลเซียเป็นจำนวนมาก ทำให้การเลี้ยงดูเด็กเล็กต้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ถึงแม้ว่าเด็กที่มีอายุ 0-72 เดือน เป็นกลุ่มที่ความเจริญเติบโตสูงมากทั้งด้านร่างกายตลอดทั้งจิตใจ และมีพัฒนาการที่สูงกว่าในวัยอื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเจริญเติบโตของสมองทั้งนี้ต้องได้รับการดูแลที่ดีจากครอบครัวอย่างต่อเนื่อง  แต่จากการที่มารดาคลอดแล้วส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นผู้ดูแลเด็กเอง แต่จะให้ตากับยายดูแลเลี้ยงดูแทน ส่วนบิดามารดาจะไปทำงานโรงงานในตัวเมือง ต่างจังหวัด หรือประเทศใกล้เคียงอย่างมาเลเซีย ทำให้ไม่สามารถเลี่ยงบุตรได้เต็มที่ ซึ่งมีผลโดยตรงการได้รับสารอาหารที่ไม่เหมาะสมของเด็ก ส่งผลให้การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กล่าช้าได้
ในการดำเนินการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวาพบว่า ข้อมูลภาวะโภชนาการเด็ก 0-72 เดือน ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา งวดที่ 1 ปี 2564 และปี 2566 เด็กได้รับการชั่งน้ำหนักจำนวน ร้อยละ87.61 และ ร้อยละ94.84 ตามลำดับ และพบว่ามีน้ำหนักมากและค่อนข้างมากกว่าเกณฑ์อยู่ที่ ร้อยละ2.40 และ ร้อยละ2.8 ตามลำดับน้ำหนักน้อยและค่อนข้างน้อยกว่าเกณฑ์อยู่ที่ ร้อยละ8.9 และ ร้อยละ8.64 ตามลำดับ ส่วนสูงเตี้ยและค่อนข้างเตี้ยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ15.65 และ ร้อยละ19.96 รูปร่างอ้วนและเริ่มอ้วน ร้อยละ2.17 และ ร้อยละ 2.029 ตามลำดับ รูปร่างผอมและค่อนข้างผอม ร้อยละ5.43 และ ร้อยละ 9.42 ตาลำดับ จากปัญหาพบว่าส่วนใหญ่เด็กที่มีปัญหาโภชนาการพบว่ามีสาเหตุมาจากผู้ปกครองขาดความรู้เรื่องโภชนาการ และการติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการไม่ต่อเนื่อง
เพื่อเป็นการเฝ้าระวังปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและติดภาวะโภชนาการในเด็ก0-72 เดือน เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการอย่างจริงจัง เกิดกระบวนการเยี่ยมบ้านแบบมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อให้เด็กได้รับการช่วยเหลือ ส่งต่อ และดำเนินการแก้ปัญหาทางโภชนาการอย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ ตลอดจนสามารถหาแนวทางในการแก้ไข ปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เด็กอายุ0-72 เดือน มีโภชนาการดี

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ดำเนินกิจกรรมในการประชุมชี้แจง และให้ความรู้ อสม. ในเรื่องโภชนาการในแต่ละกลุ่มวัย

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินกิจกรรมในการประชุมชี้แจง และให้ความรู้ อสม. ในเรื่องโภชนาการในแต่ละกลุ่มวัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการประชุม จำนวน 38 คน อัตราคนละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อ
                  เป็นเงิน 2,660 บาท - ค่าอาหารกลางวันพร้อมเครื่องดื่มสำหรับผู้ เข้ารับการประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 38 คน อัตราคนละ 75 บาท จำนวน 1 มื้อ
                   เป็นเงิน 2,850 บาท - ค่าวิทยากร จำนาว 3 ชั่วโมง ๆ ละ  600 บาท
                  เป็นเงิน  1,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อสม. มีความรู้ในการคัดกรองโภชนาการเด็ก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7310.00

กิจกรรมที่ 2 ดำเนินกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ปกครองในเรื่องโภชนาการเด็ก

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ปกครองในเรื่องโภชนาการเด็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน อัตราคนละ 75 บาท จำนวน 1 มื้อ
                  เป็นเงิน  3,750 บาท - ค่าวิทยากร จำนาว 3 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท
                  เป็นเงิน  1,800 บาท - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ  35 บาท จำนวน 50 คน
                   เป็นเงิน 3,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโภชนากา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9050.00

กิจกรรมที่ 3 จัดเวทีถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปกครองที่มีบุตรทุพโภชนาการ

ชื่อกิจกรรม
จัดเวทีถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้ปกครองที่มีบุตรทุพโภชนาการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ  35 บาท จำนวน 50 คน
                       เป็นเงิน 3,500 บาท
-ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 75 บาท จำนวน 50 คน
                      เป็นเงิน 3,750 บาท - ค่าวัสดุในการดำเนินกิจกรรมโครงการ                      เป็นเงิน  1,895 บาท - กระดาษสร้างแบบจำนวน 24 แผ่น แผ่นละ  5 บาท
เป็นเงิน 120 บาท - ปากกาเคมีจำนวน 10 ด้าม ด้ามละ 20บาท
เป็นเงิน 200 บาท - เทปสี จำนวน 3 ม้วน ม้วนละ        25 บาท
                           เป็นเงิน 75 บาท
- สมุดบันทึก จำนวน 50 ชุด ชุดละ 20 บาท
เป็นเงิน 1,000 บาท - ปากกาลูกลื่น จำนวน 50 ด้าม ด้ามละ 10 บาท
เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโภชนาการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9145.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,505.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็ก 0–72 เดือน มีโภชนาการดี
2. ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโภชนาการ 0–72 เดือน
3. เด็กอายุ 0-72 เดือน ที่มีทุกโภชนาการหรือไม่สมส่วนได้รับการแก้ไขและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
4. อสม. มีความรู้ในการคัดกรองโภชนาการเด็


>