กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ Stop teem mom หยุดโรค หยุดการตั้งครรภ์ในวัยเรียน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว

โรงเรียนท่างิ้ว (ต.ช.ด.อุปถัมภ์)

1.นายเกรียงไกร ตันเจี่ย
2.นางสาวธัญญารัตน์ อินทร์ทอง
3.นางสาวสุภัชชา จันทร์สุขศรี
4.นายจิรพันธุ์ ช่องลมกรด
5.นายวิทวัส อาภรณ์
6.นายเกียรติศักดิ์ พลเดช

โรงเรียนท่างิ้ว (ต.ช.ด.อุปถัมภ์)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมและสามารถป้องกันตนเองจากการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์

น้กเรียนร้อยละ 90 มีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม และสามารถป้องกันตนเองจาการตั้งครรภ์ที่ไม่พีงประสงค์

1.00
2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

นักเรียนร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

1.00
3 เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับเพื่อน บุคคลในครอบครัวและคนในชุมชนได้

นักเรียนร้อยละ 90 สามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับเพื่อน บุคคลในครอบตรัวและคนในชุมชนได้

1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 125
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 รอบรู้เรื่องเพศ

ชื่อกิจกรรม
รอบรู้เรื่องเพศ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าป้ายไวนิลโครงการจำนวน 1 ป้าย ตารางเมตรละ 1509 ตารางเมตร เป็นเงิน 1350 บาท -ค่าป้ายไวนิลกิจกรรม จำนวน 1 ป้าย ตารางเมตรละ 1504.5 ตารางเมตร เป็นเงิน 675 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน วันละ  6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 7200 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม และสังเกตการณ์ จำวน 140 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 7000 บาท -ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมและผู้สังเกตการณ์จำนวน 140 คน คนละ 1 มื้อ มื้อละ  50 บาท เป็นเงิน 7000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23225.00

กิจกรรมที่ 2 รู้ไว้ใช้เป็น เพิ่มเปอร์เซ็นความปลอดภัย

ชื่อกิจกรรม
รู้ไว้ใช้เป็น เพิ่มเปอร์เซ็นความปลอดภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าป้ายไวนิลกิจกรรม จำนวน 1 ป้าย ตารางเมตรละ 150*4.5 ตารางเมตร เป็นเงิน 675 บาท รวมเป็นเงิน 675 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
675.00

กิจกรรมที่ 3 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ

ชื่อกิจกรรม
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าพิมพ์และถ่ายเอกสารประการบรรยาย และเล่มโครงการ -เข้าเล่มรายงานเอกสารโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนมีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม และสามารถป้องกันตนเองจาการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 3.นักเรียนนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับเพื่อน บุคคลในครอบครัว และคนในชุมชนได้


>