กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการกำจัดเหาด้วยสมุนไพรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะสะบ้า

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะสะบ้า

โรงเรียนในเขตตำบลเกาะสะบ้า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 นักเรียนในตำบลเกาะสะบ้ามีเหาเพิ่มขึ้น

 

40.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน

จำนวนการระบาดโรคเหาลดลง

80.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 345
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 27/02/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรม ตรวจสุขภาพนักเรียนประจำปี

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม ตรวจสุขภาพนักเรียนประจำปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ลงตรวจสุขภาพเด็กนักเรียนในตำบลเกาะสะบ้าจำนวน 6 แห่ง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เพื่อทราบจำนวนนักเรียนที่เป็นโรคเหา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรม ให้บริการหมักเหาแก่เด็กนักเรียนและให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม ให้บริการหมักเหาแก่เด็กนักเรียนและให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.เอกสารประชาสัมพันธ์ แผ่นละ 0.5 บาท จำนวน 500 แผ่นเป็นเงิน 250 บาท 3.ถุงมือsize S จำนวน 8 กล่อง กล่องละ 135 บาทเป็นเงิน 1,080 บาท 4.หมวกคุมผม จำนวน 7 แพ็ค แพ็คละ150 บาทเป็นเงิน 1,050 บาท 4.ไวนิล ขนาด “1.2*2.4”เป็นเงิน 576 บาท

รวมทั้งสิ้น 2,956 บาท วัสดุการกำจัดเหา 1.ใบน้อยหน่าแห้ง 3 ก.ก ราคา250 บาท 2.ยาเส้น 2.5 กราคา200 บาท 3.น้ำมันพืช 50 ลิตร ลิตรละ 60 บาทราคา3,000 บาท 4.มะกรูด 3.6 ก.ก ราคา540 บาท 5.เถาสะบ้า 2.5 ก.กราคา538 บาท 6.ขวดบรรจุ150cc ถุงละ100 ใบx4ถุง ราคา520 บาทเป็นเงิน 2,080 บาท รวมทั้งสิ้น 6,608 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้บริการหมักเหาแก่เด็กนักเรียนและให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9564.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรม สรุปโครงการกำจัดเหาด้วยสมุนไพรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะสะบ้า

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม สรุปโครงการกำจัดเหาด้วยสมุนไพรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะสะบ้า
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดเก็บรวบรวมเอกสารในการดำเนินโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

รายงานโครงการกำจัดเหาด้วยสมุนไพร

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,564.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในเด็กนักเรียน
2.เพื่อให้ความรู้เรื่องเหาและการรักษาโดยการใช้สมุนไพรแก่นักเรียน


>