กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบ้านน้อยห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย

ชมรมผู้สูงอายุตำบลบ้านน้อย

นางแสงเดือน ทิวาลัย
นายเรวัตรประมูลชัย

หมู่ที่1- หมู่ที่6 ตำบลบ้านน้อย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานคนพิการ , แผนงานสุขภาพจิต

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันจำนวนและสัดส่วนผู้สูงอายุ(อายุตั้งแต่60ปีขึ้นไป)ของประเทศไทยเพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็ว โดยสัดส่วนของผู้สูงอายุจะเพิ่มจากร้อยละ 10.3 ในปี 2548 เป็นร้อยละ 19.8 ในปี 2568 (สัมฤทธิ์ ธำรงนาวาสวัสดิ์,2550) ส่งผลให้ประชากรไทยเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุหรือ“ภาวะประชากรผู้สูงอายุ”(PopulationAgeing) อันจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ เจ็บป่วยเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น ปัญหาการสูญเสียฟันและสุขภาพช่องปากส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้สูงอายุและมีค่าใช้จ่ายสูงในการดูแลปัญหาสุขภาพ อีกทั้งปัญหาขาดผู้ดูแลยามเจ็บป่วย การจะให้ผู้สูงอายุมีชีวิตยืนยาวอย่างมีคุณภาพต้องมีการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุที่ยังมีสุขภาพดีให้มีสุขภาพแข็งแรงเพื่อยืดเวลาที่จะเจ็บป่วยเรื้อรังออกไป และในผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยให้หายหรือทุเลาจากการเกิดความพิการหรือทุพพลภาพและยืดเวลาของการเข้าสู่ภาวะทุพพลภาพออกไป
จากการสำรวจข้อมูลสถานสุขภาพตำบลบ้านน้อยพบว่ามีผู้สูงอายุจำนวน787คนจำแนกตามประเภทได้ดังนี้ ผู้สูงอายุประเภทที่1 จำนวน 752 คนผู้สูงอายุประเภทที่2 จำนวน 30คนผู้สูงอายุประเภทที่ 3 จำนวน 5คนและมีปัญหาทางด้านสุขภาพ เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังอันเกิดจากการมีพฤติกรรมทางด้านสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ดังนั้นการส่งเสริมการรวมกลุ่มผู้สูงอายุเป็นชมรมผู้สูงอายุการทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน อาทิเช่น การออกกำลังกายร่วมกันเป็นประจำตลอดจนการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมดูแลสุขภาพตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลเพื่อนผู้สูงอายุ เพื่อให้มีการพัฒนาสุขภาพกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ ซึ่งสอดคล้องกับวาระแห่งชาติเมืองไทยแข็งแรง คนไทยแข็งแรง ประเด็นที่สองส่งเสริมให้วัดเป็นศูนย์กลางการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพแก่พระภิกษุสงฆ์ บุคลากรในวัดและประชาชนที่มาทำบุญทำกิจกรรมต่างๆ ที่วัด ประเด็นที่สาม พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านซึ่งเป็นการบริการเชิงรุกที่ให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวแบบบูรณาการต่อเนื่องจากโรงพยาบาลสู่บ้านโดยทีมสหวิชาชีพ จึงเป็นการส่งเสริมศักยภาพของสถาบันครอบครัว อาสาสมัครผู้ดูแลในชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการให้การส่งเสริมสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุให้อยู่ในครอบครัวอย่างอบอุ่น มีสุขภาพดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขกายสุขใจ ทั้งในภาวะที่ปกติและภาวะที่เจ็บป่วย พิการหรือทุพพลภาพดังนั้น ทางชมรมผู้สูงอายุตำบลบ้านน้อยจึงได้จัดทำโครงการ บ้านน้อยห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองของผู้สูงอายุ

 

0.00
2 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพ

 

0.00
3 เพื่อเสริมสร้างความสามัคคี สร้างสัมพันธ์และส่งเสริมสุขภาพใจในผู้สูงอายุ

 

0.00
4 เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 780
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 13/12/2023

กำหนดเสร็จ 15/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมกลุ่มแกนนำผู้สูงอายุเพื่อทบทวนรายชื่อ บทบาท หน้าที่ วิเคราะห์ผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและจัดทำแผนการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมกลุ่มแกนนำผู้สูงอายุเพื่อทบทวนรายชื่อ บทบาท หน้าที่ วิเคราะห์ผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและจัดทำแผนการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 31 ตุลาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและจัดทำโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและจัดทำโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 พฤศจิกายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ดำเนินการจัดกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุตำบลบ้านน้อย โดยมีรายละเอียดของกิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินการจัดกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุตำบลบ้านน้อย โดยมีรายละเอียดของกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

4.1กิจกรรมการรับสมัครสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ - ประชาสัมพันธ์การรับสมัครสมาชิกชมรมผู้สูงอายุผ่านทางเสียงตามสายและเวทีประชุมหมู่บ้านจำนวน6หมู่บ้าน 1ครั้งต่อปี 4.2 กิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุ - จัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มพูนและพัฒนาศักยภาพในการดูแลตนเองผ่านเวทีพลังบวร จำนวน 1 ครั้ง
4.3 กิจกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและประชุมสามัญประจำปี 4.3.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุโดยประสานงานกับเจ้าที่สาธารณสุขของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้อยโรงพยาบาลโพทะเลและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องจำนวน 1ครั้ง -ตรวจคัดกรองสุขภาพประจำปีและประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (ADL) พร้อมทั้งจัดทำทะเบียนผู้สูงอายุแยกประเภทเป็นติดสังคม ติดบ้านติดเตียงและให้คำแนะนำความรู้กับผู้สูงอายุในหัวข้อต่างๆเพื่อส่งเสริมให้สามารถดูแลตนเองได้ -ร่วมกิจกรรมการตรวจประเมินและตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพ เช่นโรคหลอดเลือดสมอง ภาวะซึมเศร้า ( 2Q )ภาวะสมองเสื่อมตาต้อกระจก โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสภาวะอนามัยช่องปากภาวะข้อเข่าเสื่อม และการได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 4.4กิจกรรมจิตอาสาในชุมชน - ดำเนินกิจกรรมจิตอาสาในชุมชนโดยชมรมผู้สูงอายุ เช่นพิธีกรและจัดศาสนพิธีในงานบวช งานมงคลสมรส งานอวมงคลงานประเพณีต่างๆในชุมชน

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 ธันวาคม 2566 ถึง 15 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23570.00

กิจกรรมที่ 4 ประสานงานกับทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเพื่อส่งต่อผู้ที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบภาวะผิดปกติตามลำดับขั้นตอน

ชื่อกิจกรรม
ประสานงานกับทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเพื่อส่งต่อผู้ที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบภาวะผิดปกติตามลำดับขั้นตอน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 ธันวาคม 2566 ถึง 15 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการออกกำลังกายในผู้สูงอายุตามสภาพร่างกายของตนเอง เช่น รำไม้พลอง โยคะ จักรยานหรือไทเก๊ก

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการออกกำลังกายในผู้สูงอายุตามสภาพร่างกายของตนเอง เช่น รำไม้พลอง โยคะ จักรยานหรือไทเก๊ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 ธันวาคม 2566 ถึง 15 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 6 ส่งเสริมและเข้าร่วมงานมหกรรมสุขภาพผู้สูงอายุในระดับอำเภอและจังหวัด

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมและเข้าร่วมงานมหกรรมสุขภาพผู้สูงอายุในระดับอำเภอและจังหวัด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 ธันวาคม 2566 ถึง 15 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 7 สรุปผลการดำเนินงาน รายงานผลให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินงาน รายงานผลให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2567 ถึง 15 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,570.00 บาท

หมายเหตุ :
1. ค่าอาหารกลางวัน (1 มื้อ)อาหารว่าง และเครื่องดื่ม (2 มื้อ) ในการจัดกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุเพื่อเพิ่มพูนและพัฒนาศักยภาพในการดูแลตนเองและประชุมสามัญประจำปี จำนวน 100 คน ๆละ 100บาทจำนวน2 ครั้ง เป็นเงิน 20,000.- บาท
2. ค่าถ่ายเอกสารแบบคัดกรองและคำแนะนำ จำนวน780 ชุดๆละ 4 บาทเป็นเงิน3,120.- บาท
3. ค่าป้ายโครงการ ขนาด1*3 เมตรเป็นเงิน450.- บาท
***ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเองได้ตามศักยภาพของตนไม่เป็นภาระพึ่งพิง
2. ชมรมผู้สูงอายุมีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
3. มีการขยายเครือข่ายของชมรมผู้สูงอายุทั้งในระดับอำเภอและจังหวัด


>