กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กประถมศึกษา โรงเรียนบ้านนิบง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบันนังดามา

ในโรงเรียนบ้านนิบงหมู่ที่2 ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จากการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบันนังดามา ได้มีการดำเนินงานส่งเสริมทันตสุขสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการตรวจสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียน โดยการค้นหานักเรียนที่มีปัญหาด้านทันตสุขภาพ

 

5.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงปีที่ 6 ได้การตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 90 2.เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 1 ถึงปีที่ 6 ที่ไม่มีโรคประจำตัวหอบหืดได้รับบริการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 80 3.เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 1 ถึงปีที่ 6 ที่มีปัญหาช่องปากได้รับชุดสาธิตการแปรงฟัน ร้อยละ 100

1.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงปีที่ 6 ได้การตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 90 2.นักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 1 ถึงปีที่ 6 ที่ไม่มีโรคประจำตัวหอบหืดได้รับบริการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ
3.นักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 1 ถึงปีที่ 6 ที่มีปัญหาช่องปากได้รับชุดสาธิตการแปรงฟัน ร้อยละ 100

5.00 4.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 250
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่1 จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ ให้กับแกนนำนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 5 ถึงปีที่ 6 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันสำหรับเด็กนักเรียนที่มีปัญหาช่องปาก

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่1 จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ ให้กับแกนนำนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 5 ถึงปีที่ 6 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันสำหรับเด็กนักเรียนที่มีปัญหาช่องปาก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่1 จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ ให้กับแกนนำนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 5 ถึงปีที่ 6 โรงเรียนบ้านนิบง หมู่ที่ 2 ต.กาบัง อ.กาบัง จ.ยะลา จำนวน 50 คน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน X 2 มื้อ ๆละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร300 บาท X 1 คน X 5 ชั่วโมง X 1 วัน เป็นเงิน 1,500 บาท - สื่อ อุปกรณ์ประกอบการสอน มีดังนี้ - โมเดลสอนแปรงฟัน จำนวน 1 ชุดเป็นเงิน1,350 บาท - โมเดลแสดงการลุกลามชองฟันผุด้านสบฟัน จำนวน 1 ชุดเป็นเงิน 2,000 บาท - โมเดลแสดงการลุกลามชองฟันผุด้านประชิด จำนวน 1 ชุด เป็นเงิน1,500 บาท -ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1.5 X 2.0 เมตรๆละ 300 บาท X 1ผืน เป็นเงิน 900 บาท


กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันสำหรับเด็กนักเรียนที่มีปัญหาช่องปาก -ชุดสาธิตการแปรงฟัน ชุดละ 60 บาท X 200 คนเป็นเงิน 12,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 22,750 บาท (เงินสองหมื่นสองพันเจ็ดร้อยห้าสิบบาทถ้วน) หมายเหตุทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เพื่อให้ผู้นำนักเรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพช่องปาก เพื่อให้ผู้นำนักเรียนสามารถแปรงฟัน ได้อย่างถูกต้องและสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของผู้นำนักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในดูแลสุขภาพช่องปากได้มากขึ้น (โดยมีคะแนนทดสอบหลังการอบรมมากกว่าก่อนการอบรม)
  2. มีการจัดกิจกรรม แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ทุกชั้นเรียนภายใต้การดูแลควบคุมของครูประจำชั้นและผู้นำ นักเรียน ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของผู้นำนักเรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก โดยสามารถแปรงฟันได้ถูกต้องตามเกณฑ์
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>