กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี รหัส กปท. L2971

อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการ อาสาใส่ใจป้องกันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข เขต PCUรพ. กะพ้อ
3.
หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกมะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็นสาเหตุการตายเป็นระดับ ต้นๆจากโรคมะเร็งของคนในประเทศไทย ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรี พบได้ถึง ๓ คน ในประชากรหนึ่งแสนคน ในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต ประมาณ ๔,๕๐๐ ราย ส่วนใหญ่มีอายุประมาณ ๓๐ - ๕๐ ปี ซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็ง ปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNC Test ตรวจโดยเจ้าหน้าที่ และตรวจด้วยตนเอง ถ้าหากตรวจทุก ๒ ปี สามารถลดการเป็นมะเร็งระยะลุกลามได้ ๙๒ % ถึงแม้กระบวนการตรวจเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูก จะง่าย สะดวกด้วยตนดองราคาถูก แต่ยังพบว่าสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ มีทัศนคติ ในมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็ง จังหวัดปัตตานีในปี 2564 เริ่มมีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA TEST ส่วนโรคมะเร็งเต้านม ผู้ป่วยมักไม่มีอาการ ผิดปกติในระยะเริ่มต้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นและสำคัญที่ต้องทำการตรวจค้นหามะเร็งเต้านมใน ระยะเริ่มต้น การรักษามะเร็งเต้านมในปัจจุบันมีความก้าวหน้าไปมาก การค้นพบมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้นสามารถรักษา ให้หายขาดได้และการรักษาอาจทำได้โดยการตัดเฉพาะก้อนมะเร็งออกไม่จำเป็นต้องผ่าตัดทั้งเต้านม ในทางตรงกันข้ามหากไม่มีการตรวจค้นหามะเร็งเต้านม รอจนกระทั่งมีอาการผิดปกติ มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยัง อวัยวะอื่น ๆ แล้ว และไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ และโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่เป็นโรคมะเร็งที่พบบ่อยอันดับต้นๆในคนไทยและอุบัติการณ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในปัจจุบันการตรวจคัดกรองโรคลำไส้ใหญ่ โดยวิธี ง่ายๆ รวดเร็ว และประหยัด การตรวจเลือดที่มองไม่เห็นในอุจจาระ Fecal Occult Blood test( Fit test ) ซึ่งทำโดยเก็บอุจจาระตรวจด้วยตนเอง กลุ่มเป้าหมายประชากร อายุ 50-70 ปี และกลุ่มเสี่ยง หากผลเป็นบวก ต้อได้รับการรักการงส่งต่อ สถานการณ์ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๐ - ๖๐ ในเขตพื้นที่ รับผิดชอบ PCU รพ.กะพ้อพบว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในปี ๒๕62-๒๕66 ร้อยละ 47.39 ,54.67 ,13.93 , 14.5.และ 21.53 ตามลำดับ ปีงบประมาณ 2566พบผู้ที่มีเซลล์ผิดปกติทั้งสิ้น 2 รายได้รับการส่งต่อไปยัง รพ.ปัตตานีเพื่อตรวจชิ้นเนื้อ พบว่าผลปกติทั้ง 2ราย กลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓0-70 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมในปี ๒๕62-๒๕66 ร้อยละ 83.81, 55.8 ,71.05, 75.80 และ 75..60 ตามลำดับ กลุ่มเสี่ยงจำนวน 33 คน คัดกรองและที่พบก้อนได้รับการตรวจ ด้วย Mammogram ที่อำเภอสายบุรี่ จำนวน6 คนผลผิดปกติ3 รายส่งต่อตรวจชิ้นเนื้อ3 รายผลปกติทั้ง 3 รายและกลุ่มอายุ 50 – 70 ปี ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2566จำนวน 48คน ผลบวก 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.16 ได้รับส่องกล้อง ที่ รพ.สายบุรี ผลปกติทั้ง 2 คน
จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่า กลุ่มเป้าหมายคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ยังไม่เข้ารับการตรวจจะเป็นกลุ่มที่ยากต่อการติดตามเข้ารับบริการ การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองที่ไม่พบความผิดปกติ อาจเกิด จากการตรวจที่ไม่ถูกต้อง ไม่มีทัศกษะหรือแบบการตรวจคัดกรองที่มีความซับซ้อนไม่เข้าใจและการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ยังไม่ครอบคลุมทั่วถึงในกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มเสี่ยงทางชมรม อาสาสมัครสาธารณสุข ในเขตPCUได้เล้งเห็นความสำตัญในกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว จึงจัดทำโครงการ อาสา ใส่ใจ่ ป้องกันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2567เพื่อทำกิจกรรมเชิงรุกในชุมชนเกิดการสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคมะเร็งย่างครอบคลุมและทั่วถี่ง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทัศคติที่ดี เกิดความตระหนักในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
    ตัวชี้วัด : สตรีที่มีอายุ 30-60 ปีได้รับความรู้ และเกิดความตระหนักในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 2.00
  • 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และเกิดทัคษะในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : สตรีที่มีอายุ 30-70 ปีได้รับความรู้ และมีทักษะในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 2.00
  • 3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ประชาชนที่มี อายุ 50-70 ปี และกลุ่มเสี่ยง ได้รับความรู้และตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
    ขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 2.00
  • 4. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่รับการตรวจคัดกรองที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ เพื่อการวินิจฉัยได้อย่างรวดเร็ว
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็ง พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ เพื่อการวินิจฉัย ร้อยละ 100
    ขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 2.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ให้ความรู้เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้ที่มีประสบการณ์เป็นมะเร็ง
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก แก่กลุ่มสตรี ที่มีอายุ 30-60 ปี และ มะเร็งเต้านม ในกลุ่มสตรี ที่มีอายุ 30 - 70 ปี
    รายละเอียด
    • ค่าไวนิล ขนาด 1 เมตร*2 เมตร = 700 บาท
    • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 100 คน ๆ ละ 50 บาทx 1 มื้อ = 5,000 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 คนๆ ละ 25 บาท x 2 มื้อ = 5,000 บาท -ค่าสมนาคุณวิทยากรจำนวน 5 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท = 3.000 บาท -ค่าวัสดุ 3,500 บาท
    งบประมาณ 17,200.00 บาท
  • 3. กิจกรรมเให้ความรูเชิงรุก และสาธิตวิธีทดสอบวิธีการตรวจมะเร็งลำใส้ โดยชุดน้ำยา Fit Test
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 4. จัดกิจกรรม ให้ความรู้และแจกชุดน้ำยา Fit test และสอนวิธีการตรวจมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยตนเอง ในละแวก ของ อสม ที่รับผิดชอบ
    รายละเอียด

    ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 48 คนๆละ 25 บาท x 2 เมื้อ = 2,.400 บาท

    งบประมาณ 2,400.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2567 ถึง 29 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

กะรุบี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 19,600.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

 

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี รหัส กปท. L2971

อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี รหัส กปท. L2971

อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 19,600.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................