กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลตำนาน รหัส กปท. L3353

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการ สุขภาพดี ชีวีมีสุข ของ ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านทุ่งลาน ตำบลตำนาน
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรม อสม. รพงสต.บ้านทุ่งลาน
กลุ่มคน
1.นางบุญศรีสุขรัตน์

2 นางนันทิภาหนูอักษร

3 นางอุ่นใจก้งเส้งวั่น

4 นางนพวรรณเอียดรอด

5 นางวันดีจันทวิเศษ
3.
หลักการและเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขกำหนดประเด็นการส่งเสริมสุขภาพเพื่อดำเนินการผ่าน 2 นโยบายหลักสำคัญคือ 1) สุขภาพดีวิถีใหม่ : คนไทยรอบรู้ดี สุขภาพดี อารมณ์ดี โดยวางเป้าหมายให้ครอบครัวไทยมีความรอบรู้ด้านสุขภาพอย่างน้อย5 ล้านครอบครัว มุ่งเน้นใน 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 ประชาชนมีความรอบรู้ในเรื่องการจัดการพฤติกรรมตนเองใน 3 ด้านคือการออกกำลังกาย การเลือกบริโภคอาหาร และการจัดการอารมณ์ตนเอง สำหรับส่วนที่ 2 คือ การจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยเน้นอาหารปลอดภัยทั้งในสถานประกอบการประเภทสตรีทฟู้ดและตลาดนัด ซึ่งเป็นแหล่งที่ประชาชนเลือกซื้อสินค้าบริโภคเป็นหลัก เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยควบคู่กับการสร้างความเข้าใจด้านสุขอนามัยให้กับผู้บริโภค "นโยบายที่ 2 คือ ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม : ดูแลสุขภาพกลุ่มวัยอย่างเป็นระบบมุ่งเน้นสุขภาพเด็กปฐมวัยและผู้สูงอายุโดยปีนี้กระทรวงสาธารณสุขจะเน้นที่เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นช่วงต้นของชีวิต โดยเฉพาะช่วง 1,000 วันแรกที่จะกระตุ้นด้านพัฒนาการและการเจริญเติบโต ซึ่งต้องอาศัยการจัดการโดยชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการศูนย์เด็กเล็กให้ได้มาตรฐานมีการสร้างพื้นที่เล่นให้เด็ก เพราะหากเด็กมีความพร้อมสมบูรณ์จะส่งต่อสู่ช่วงวัยอื่นอย่างมีคุณภาพ สำหรับกลุ่มผู้สูงอายุซึ่งมีประมาณ 12 ล้านคน และประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วนั้น การดำเนินงานเพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุขต้องร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดบริการสุขภาพ สวัสดิการสังคม และพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อลดปัญหาการติดบ้าน ติดเตียง ในกลุ่มผู้สูงอายุให้น้อยลง" องค์ประกอบพื้นฐาน ได้แก่ ความเจ็บป่วยเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้โดยการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม การออกกำลังกาย การพักผ่อนหย่อนใจเพื่อคลายเครียด การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ และการตรวจคัดกรองโรคด้วยตนเองเป็นต้น
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งลาน จึงได้จัดทำโครงการสุขภาพดีชีวีมีสุขผสานการดูแลสุขภาพหลากหลายวิธี เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของประชาชน และให้ระชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและรับผิดชอบการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อนำไปสู่การส่งเสริมสุขภาพด้วยตนเองที่ยั่งยืน จึงได้มีแนวคิดในการจัดทำโครงการเกี่ยวการส่งเสริมสุขภาพประชาชน ที่ครอบคลุมเกี่ยวการให้ความรู้ ส่งเสริมการตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)
    ขนาดปัญหา 15.00 เป้าหมาย 10.00
  • 2. เพื่อเพิ่มคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม
    ขนาดปัญหา 45.00 เป้าหมาย 50.00
  • 3. เพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 35.00
  • 4. เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย
    ขนาดปัญหา 35.00 เป้าหมาย 20.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรม สุขภาพดี ชีวีมีสุข ด้วยการอบรมให้ความรู้
    รายละเอียด

    อบรมให้ความรู้ บรรยายให้ความรู้การควบคุม พัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพกายและจิตที่ดี เพื่อส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย ให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง  โดยมีงบประมาณ ดังนี้
    1.ค่าวิทยากร 4 ชม. ชม.ละ 600 บาท                                                                                        เป็นเงิน  2,400 บาท
    2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรมและคณะทำงาน จำนวน 55 คน x 25บาท x 2 มื้อ    เป็นเงิน  2,750 บาท
    3.ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าอบรมและคณะทำงาน จำนวน 55 คน x 50 บาท x 1 มื้อ                เป็นเงิน  2,750 บาท

                                                                                                                                                รวมเป็นเงิน  7,900 บาท

    งบประมาณ 7,900.00 บาท
  • 2. กิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค
    รายละเอียด

    กิจกรรม  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค  ด้วยการสาธิตการทำอาหารปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ โดยใช้วัตถุดิบในพื้นที่ เช่น แกงเลียง ผักปลอดสารพิษ สลัดผัก ขนมหวาน  โดยมีงบประมาณ ดังนี้
    1.ค่าวิทยากร 4 ชม. ชม.ละ 600 บาท                                                                                เป็นเงิน    2,400 บาท
    2.ค่าอาหารว่างสำหรับผู้เข้าอบรมและคณะทำงานจำนวน 55 คน x 25บาท x 2 มื้อ                เป็นเงิน    2,750 บาท 3.ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าอบรมและคณะทำงาน จำนวน 55 คน x 50 บาท x 1 มื้อ        เป็นเงิน  2,750 บาท

                                                                                                                                        รวมเป็นเงิน 7,900 บาท

    งบประมาณ 7,900.00 บาท
  • 3. กิจกรรม นวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
    รายละเอียด

    กิจกรรม นวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เพื่อให้ผู้ได้รับการอบรม ได้เรียนรู้การกระตุ้นกล้ามเนื้อ เพื่อผ่อนคลาย ไม่เครียด เสริมทักษะในการดูแลสุขภาพของตัวเองได้อย่างเหมาะสมตามวิถีพอเพียง และการป้องกันสุขภาพ  โดยมีงบประมาณ ดังนี้
    1.ค่าวิทยากร 4 ชม. ชม.ละ 600 บาท                                                                                                    เป็นเงิน    2,400 บาท

    2.ค่าอาหารว่างสำหรับผู้เข้าอบรมและคณะทำงานจำนวน 55 คน x 25บาท x 2 มื้อ                                    เป็นเงิน 2,750 บาท

    3.ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าอบรมและคณะทำงาน จำนวน 55 คน x 50 บาท x 1 มื้อ                            เป็นเงิน 2,750 บาท

                                                                                                                                                      รวมเป็นเงิน 7,900 บาท

    งบประมาณ 7,900.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 13 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่บ้านในความรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านทุ่งลาน

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 23,700.00 บาท

หมายเหตุ : งบประมาณสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ การจัดการความเครียด อาหาร และการป้องกันโรคต่าง ๆ

2.ประชาชนมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคมากขึ้น

3.ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในครอบครัวได้

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลตำนาน รหัส กปท. L3353

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลตำนาน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลตำนาน รหัส กปท. L3353

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 23,700.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................