กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ในเยาวชนและประชาชน ในตำบลจวบ อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส ปีงบประมาณ 2567

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ในเยาวชนและประชาชน ในตำบลจวบ อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส ปีงบประมาณ 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ

โรงพยาบาลเจาะไอร้อง

ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ในปัจจุบันปัญหายาเสพติดยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญและต้องเร่งรัดในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังและต่อเนื่องตามแผนยุทธศาสตร์ตามที่กระทรวงกำหนด ดังนั้นการนำเอายุทธศาสตร์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดมาใช้ในการดูแลเยาวชนให้ห่างไกลจากยาเสพติดนั้นเป็นเรื่องที่ต้องปลุกฝั่งเรื่องความรู้ยาเสพติดวิธีการปฏิเสธเพื่อนเพราะปัจจุบันสาเหตุที่ทำให้เยาวชนไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดส่วนใหญ่มาจากเพื่อน ภาวะเครียด ความผิดหวังและปัญหาครอบครัวเนื่องจากสถานการณ์ สถานการณ์ ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดของโรงพยาบาลเจาะไอร้อง ของตำบลจวบมีอัตราผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดได้รับการบำบัดเพิ่มขึ้นทุกปี ปี 2564 จำนวน 32 คน ปี 2565 จำนวน35 คนและปี2566 จำนวน 38 คนในขณะเดียวกันพบว่าเยาวชนที่มีการเสพสารเสพติดอยู่ในกลุ่มอายุ 9-24 ปีซึ่งเป็นเยาวชนที่กำลังเติบโต ส่วนมากที่ทำให้เยาวชนเสพสารเสพติดมาจาก เพื่อน ภาวะเครียด การเข้าสังคมและครอบครัว
ดังนั้นโรงพยาบาลเจาะไอร้อง อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จึงเล็งเห็นความสำคัญในการดูแลเยาวชนตำบลจวบ เพื่อห่างไกลจากยาเสพติด ทางโรงพยาบาลเจาะไอร้อง จึงดำเนินการจัดจัดโครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBERในเยาวชนและประชาชน ในตำบลจวบ อ.เจาะไอร้องจ.นราธิวาส ปี งบประมาณ 2567 ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทัศนคติและค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติด รวมถึงความรู้ ความเข้าใจถึงโทษและพิศภัยของปัญหายาเสพติด 2. เพื่อให้หาเครือข่ายเด็กและเยาวชนในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีศักยภาพในการดำเนินชีวิตเป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด 4.เพื่อให้เยาวชนและประชาชนมีความรู้เรื่องยาเสพติด 5.คณะกรรมการหมู่บ้านให้ความสำคัญในการป้องกันและบำบัดรักษา ผู้ติดสารเสพติดในหมู่บ้าน 6.ลดการเสพซ้ำในผู้ผ่านการบำบัดร้อยละ 20

1.เยาวชนตำบลจวบมีความรู้เรื่องยาเสพติดร้อยละ 80 2.มีแกนนำในการดำเนินงานยาเสพติดของเยาวชนแต่ละหมู่บ้านเพิ่มขึ้นร้อยละ 50 3.เยาวชนและประชาชนหมู่ที่ 1-8 ต.จวบมีความรู้เรื่องยาเสพติดร้อยละ 80 4.ลดการเสพซ้ำในผู้ผ่านการบำบัดร้อยละ 20

0.00

ในปัจจุบันปัญหายาเสพติดยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญและต้องเร่งรัดในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังและต่อเนื่องตามแผนยุทธศาสตร์ตามที่กระทรวงกำหนด ดังนั้นการนำเอายุทธศาสตร์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดมาใช้ในการดูแลเยาวชนให้ห่างไกลจากยาเสพติดนั้นเป็นเรื่องที่ต้องปลุกฝั่งเรื่องความรู้ยาเสพติดวิธีการปฏิเสธเพื่อนเพราะปัจจุบันสาเหตุที่ทำให้เยาวชนไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดส่วนใหญ่มาจากเพื่อน ภาวะเครียด ความผิดหวังและปัญหาครอบครัวเนื่องจากสถานการณ์ สถานการณ์ ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดของโรงพยาบาลเจาะไอร้อง ของตำบลจวบมีอัตราผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดได้รับการบำบัดเพิ่มขึ้นทุกปี ปี 2564 จำนวน 32 คน ปี 2565 จำนวน35 คนและปี2566 จำนวน 38 คนในขณะเดียวกันพบว่าเยาวชนที่มีการเสพสารเสพติดอยู่ในกลุ่มอายุ 9-24 ปีซึ่งเป็นเยาวชนที่กำลังเติบโต ส่วนมากที่ทำให้เยาวชนเสพสารเสพติดมาจาก เพื่อน ภาวะเครียด การเข้าสังคมและครอบครัว
ดังนั้นโรงพยาบาลเจาะไอร้อง อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จึงเล็งเห็นความสำคัญในการดูแลเยาวชนตำบลจวบ เพื่อห่างไกลจากยาเสพติด ทางโรงพยาบาลเจาะไอร้อง จึงดำเนินการจัดจัดโครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE ในเยาวชนและประชาชน ในตำบลจวบ อ.เจาะไอร้องจ.นราธิวาส ปีงบประมาณ 2567 ขึ้น

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงคณะกรรมการดำเนินงานชมรมทูบีนัมเบอวันชุมชนบ้านโคกและชุมชนเจาะไอร้อง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมชี้แจงคณะกรรมการดำเนินงานชมรมทูบีนัมเบอวันชุมชนบ้านโคกและชุมชนเจาะไอร้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน X 25 X 2 มื้อเป็นเงิน 2,500   บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน  จำนวน 50 คน มื้อละ 50 บาท X 1 มื้อ เป็นเงิน 2,500   บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร(ชมละ 600 บาท) 1 คน X 5 ชม.X 600 บาท X 1 วัน   เป็นเงิน 3,000  บาท
  • ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน1,000 บาท
  • ค่าไวนิลเป็นเงิน/โฟมบอร์ด เป็นเงิน3,000  บาท
    รวมเป็นเงิน 12,000  บาท  (หนึ่งหมื่นสองพันบาทถ้วน)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เพื่อให้เยาวชนเป็นแกนนำในการต่อต้านยาเสพติด 2.ไม่พบผู้เสพรายใหม่เยาวชนกลุ่มเสี่ยง 3.เพื่อให้เยาวชนและประชาชนมีความรู้เรื่องยาเสพติด 4.คณะกรรมการหมู่บ้านให้ความสำคัญในการป้องกันและบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดในหมู่บ้าน 5.ลดการเสพซ้ำในผู้ผ่านการบำบัดร้อยละ 20

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติดให้โทษและวิธีการไม่ให้ไปยุ่งกับยาเสพติดในเยาวชนและการสร้างแกนนำในการดำเนินงานป้องกันยาเสพติดในชุมชนหมู่ที่1 - 8 ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติดให้โทษและวิธีการไม่ให้ไปยุ่งกับยาเสพติดในเยาวชนและการสร้างแกนนำในการดำเนินงานป้องกันยาเสพติดในชุมชนหมู่ที่1 - 8 ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน X 25 X 4 มื้อเป็นเงิน 4,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 40 คน มื้อละ 50 บาท X 2 มื้อ เป็นเงิน 4,000 บาท
  • ค่าอาหารเย็น จำนวน 40 คน มื้อละ 50 บาท X 1 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าอาหารเช้าจำนวน 40 คน มื้อละ 50 บาท X 1 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร(ชมละ 600 บาท) 1 คน X 5 ชั่วโมง X 600 บาท X 2 วัน เป็นเงิน 6,000บาท
  • ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 1,000บาท
  • ค่าไวนิลเป็นเงิน 2,000บาท รวมเป็นเงิน 21,000 บาท (สองหมื่นหนึ่งพันบาทถ้วน)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เพื่อให้เยาวชนเป็นแกนนำในการต่อต้านยาเสพติด 2.ไม่พบผู้เสพรายใหม่เยาวชนกลุ่มเสี่ยง 3.เพื่อให้เยาวชนและประชาชนมีความรู้เรื่องยาเสพติด 4.คณะกรรมการหมู่บ้านให้ความสำคัญในการป้องกันและบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดในหมู่บ้าน 5.ลดการเสพซ้ำในผู้ผ่านการบำบัดร้อยละ 20

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องเรื่องยาเสพติดให้โทษในประชาชน หมู่ที่ 1- 8 ต.จวบ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องเรื่องยาเสพติดให้โทษในประชาชน หมู่ที่ 1- 8 ต.จวบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 100 คน X 25 บาท X 2 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันจำนวน 100 คน มื้อละ 50 บาท X 1 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร(ชมละ 600 บาท) 1 คน X 5 ชม. X 600 บาท X 2 วัน เป็นเงิน 6,000บาท
  • ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 1,000บาท
  • รวมเป็นเงิน 17,000 บาท (หนึ่งหมื่นเจ็ดพันบาทถ้วน)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เพื่อให้เยาวชนเป็นแกนนำในการต่อต้านยาเสพติด 2.ไม่พบผู้เสพรายใหม่เยาวชนกลุ่มเสี่ยง 3.เพื่อให้เยาวชนและประชาชนมีความรู้เรื่องยาเสพติด 4.คณะกรรมการหมู่บ้านให้ความสำคัญในการป้องกันและบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดในหมู่บ้าน 5.ลดการเสพซ้ำในผู้ผ่านการบำบัดร้อยละ 20

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 50,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เพื่อให้เยาวชนเป็นแกนนำในการต่อต้านยาเสพติด
2.ไม่พบผู้เสพรายใหม่เยาวชนกลุ่มเสี่ยง
3.เพื่อให้เยาวชนและประชาชนมีความรู้เรื่องยาเสพติด
4.คณะกรรมการหมู่บ้านให้ความสำคัญในการป้องกันและบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติดในหมู่บ้าน
5.ลดการเสพซ้ำในผู้ผ่านการบำบัดร้อยละ 20


>