กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ ส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมวัณโรค ปีงบประมาณ2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

โรงพยาบาลกาบัง

-

โรงพยาบาลกาบัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ซึ่งก่อให้เกิดผลเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างมาก อุบัติการณ์ของวัณโรคเคยลดลงอย่างช้าๆในอดีตแต่ในระยะหลังนี้กลับเพิ่มขึ้น เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคเอดส์และการดื้อยา แม้ว่าประเทศไทยจะนำกลยุทธ์ DO

 

70.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้เข้าอบรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องวัณโรคเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70 (จากการทำแบบ ประเมิน Pre-test Post-test)
  • ร้อยละ 70 ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถป้องกันตนเองในการแพร่ระบาดในชุมชนได้ (จากการทำแบบทดสอบก่อน-หลัง การอบรม)
60.00 70.00
2 เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรค ในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง 7 กลุ่มได้อย่างครอบคลุม

ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการดูแลตามแนวทางการดำเนินงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ (NTP) และเกิดการตระหนักในเรื่องวัณโรคเพิ่มขึ้น

60.00 70.00
3 เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนได้อย่างรวดเร็วทันเวลา ลดอัตราการเกิดโรค และการส่งต่อผู้ป่วยมีประสิทธิภาพขึ้น

การค้นหาและการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกมีศักยภาพเพิ่มขึ้น

60.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 95
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 จัดประชุม/อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับวัณโรค

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 จัดประชุม/อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับวัณโรค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 95 คนๆ ละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน6,650บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 95 คนๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 6,650บาท
-ค่าสมนาคุณวิทยากรอัตรา 300 บาท/ชม. จำนวน 6 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800บาท
-ค่าทำป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.5 x 2.0 ตารางเมตรๆละ 250 บาท จำนวน 1 ผืนเป็นเงิน750บาท -ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ แฟ้มพลาสติก (แบบกระดุม) แฟ้มละ 15 บาท จำนวน 95 แฟ้ม เป็นเงิน 1,425บาท ปากกาด้ามละ 5 บาท จำนวน 95 ด้าม เป็นเงิน475บาท กระดาษ Double A ขนาด A4 รีมละ 160 บาท จำนวน 3 รีม เป็นเงิน480บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 18,230 บาท (หนึ่งหมื่นแปดพันสองร้อยสามสิบบาทถ้วน)
หมายเหตุ ทุกรายการสามารถถั่วเฉลี่ยกันได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต:เพื่อให้ผู้เข้าอบรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องวัณโรคเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70 (จากการทำแบบ ประเมิน Pre-test Post-test)การพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรค ในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง 7 กลุ่มได้อย่างครอบคลุม ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนได้อย่างรวดเร็วทันเวลา ลดอัตราการเกิดโรค และการส่งต่อผู้ป่วยมีประสิทธิภาพขึ้น

ผลลัพธ์:ร้อยละ 70 ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถป้องกันตนเองในการแพร่ระบาดในชุมชนได้ (จากการทำแบบทดสอบก่อน-หลัง การอบรม) ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการดูแลตามแนวทางการดำเนินงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ (NTP) และเกิดการตระหนักในเรื่องวัณโรคเพิ่มขึ้น ในการค้นหาและการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกมีศักยภาพเพิ่มขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18230.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 ติดตามเฝ้าระวัง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 ติดตามเฝ้าระวัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ลงพื้นที่สำรวจติดตาม คัดกรอง ค้นหา ผู้ป่วยรายใหม่ที่มีอาการเข้าข่ายวัณโรคได้อย่างรวดเร็วทันเวลา เพื่อป้องกันเฝ้าระวัง ควบคุมวัณโรคในชุมชน (ไม่เบิกงบประมาณ)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต:เพื่อพัฒนาระบบการติดตามควบคุมวัณโรค ในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง 7 กลุ่มได้อย่างครอบคลุม ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนได้อย่างรวดเร็วทันเวลา ลดอัตราการเกิดโรค และการส่งต่อผู้ป่วยมีประสิทธิภาพขึ้น

ผลลัพธ์: ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการดูแลตามแนวทางการดำเนินงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ (NTP) และเกิดการตระหนักในเรื่องวัณโรคเพิ่มขึ้น ในการค้นหาและการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกมีศักยภาพเพิ่มขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 18,230.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

-ร้อยละ 70 ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถป้องกันตนเองในการแพร่ระบาดในชุมชนได้ (จากการทำแบบทดสอบก่อน-หลัง การอบรม)
-ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการดูแลตามแนวทางการดำเนินงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ (NTP) และเกิดการตระหนักในเรื่องวัณโรคเพิ่มขึ้น
-การค้นหาและการคัดกรองผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกมีศักยภาพเพิ่มขึ้น


>