กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค เพื่อลดภัยเงียบโรคเรื้อรังในชุมชน ปี2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

โรงพยาบาลกาบัง

-

ณ ลานกิจกรรมกลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟูโรงพยาบาลกาบัง และในพื้นที่ ม.4 ม.5 ม.7

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งต้องเร่งแก้ไขเนื่องจากเป็นปัญหาหนึ่งซึ่งนำไปสู่ผลกระทบต่อสุขภาพเศรษฐกิจและปัญหาทางจิตสังคมอย่างชัดเจนโรคที่เป็นผลกระทบจากภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนต่อสุขภาพที่พบในผู้ใหญ่ได้แก่ ข้อเข่าเสื่อม ภาวะอัมพ

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้ทราบภาวะสุขภาพของตนเองได้

กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง 60 % และกลุ่มเสี่ยงสามารถควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลงได้

50.00 60.00
2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง

กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง 60 % และกลุ่มเสี่ยงสามารถควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลงได้

50.00 60.00
3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดภาวะความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดลดลงได้

กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง 60 % และกลุ่มเสี่ยงสามารถควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลงได้

50.00 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 55
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ในกลุ่มเสี่ยง ในด้าน DPAC

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ในกลุ่มเสี่ยง ในด้าน DPAC
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 55 คนX 35 บาท X 2 มื้อเป็นเงิน 3,850 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 55 คนX 70 บาท X 1 มื้อเป็นเงิน 3,850 บาท
  • ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน X 6 ชม. X 300 บาท X 1 วันเป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าวัสดุอุปกรณ์
  • ปากกา จำนวน 55 ด้ามๆละ 5 บาท เป็นเงิน 275 บาท
  • แฟ้มพลาสติก(แบบกระดุม) แฟ้มละ 15 บาทจำนวน 55 แฟ้ม เป็นเงิน 825 บาท
  • กระดาษ Double A เอ 4 จำนวน 2 รีมๆละ 160 บาทเป็นเงิน 320 บาท
  • ค่าทำป้ายไวนิลโครงการขนาด 1.5 x 2.0 ตารางเมตรๆละ 250 บาท x 1 ผืนเป็นเงิน 750 บาท เป็นเงิน 11,670 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้ทราบภาวะสุขภาพของตนเองได้ /ให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ผลลัพธ์ กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง 60% และกลุ่มเสี่ยงสามารถควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลงได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11670.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 1 พร้อมด้วย จนท.ที่ติดตามจำนวน 2 คน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 1 พร้อมด้วย จนท.ที่ติดตามจำนวน 2 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม กลุ่มเสี่ยงจำนวน 55 คน X 35 บาท X 1 มื้อ                   เป็นเงิน 1,925 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เจ้าหน้าที่จำนวน 2 คน X 35 บาท X 1 มื้อ                     เป็นเงิน 70 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันกลุ่มเสี่ยงจำนวน 55 คนX 70 บาท X 1 มื้อ                                     เป็นเงิน 3,850 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันเจ้าหน้าที่จำนวน 2 คนX 70 บาท X 1 มื้อ                             เป็น 140 บาท                                                                                                              เป็นเงิน 5,985 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดภาวะความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดลดลงได้ ผลลัพธ์ กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง 60% และกลุ่มเสี่ยงสามารถควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลงได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5985.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 2 พร้อมด้วย จนท.ที่ติดตาม จำนวน 2 คน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง ครั้งที่ 2 พร้อมด้วย จนท.ที่ติดตาม จำนวน 2 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกลุ่มเสี่ยงจำนวน 55 คน X 35 บาท X 1 มื้อเป็นเงิน 1,925 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เจ้าหน้าที่จำนวน 2 คน X 35 บาท X 1 มื้อเป็นเงิน 70 บาท เป็นเงิน 1,995 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 19,650 บาท (หนึ่งหมื่นเก้าพันหกร้อยห้าสิบบาทถ้วน)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง/เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดภาวะความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดลดลงได้ ผลลัพธ์ กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง 60% และกลุ่มเสี่ยงสามารถควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลงได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1995.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,650.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองได้ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง 60% และกลุ่มเสี่ยงสามารถควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลงได้


>