กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

โรงพยาบาลกาบัง

-

โรงพยาบาลกาบัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัว เนื่องจากร่างกายมีการเปลี่ยนแปลง อย่างมากทั้งในด้านกายวิภาค ชีวเคมี และสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์และร่างกายจะมีการปรับตัวอย่างมากมายกับการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆของร่างกายที่เจริญเต

 

60.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และหลังคลอด มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง

-หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยง 5 กลุ่มโรค ,3 กลุ่มโรค PNC (PPH  PIH  Sepsis ตามแนวทางและได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนซ้อนจากโรคในระหว่างการตังครรภ์  ระหว่าง-คลอดและหลังคลอด -หญิงตั้งครรภ์/สามี/ญาติ มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ  สามารถปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอดหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ  75
-หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์  8 ครั้งตามเกณฑ์ไม่ต่ำร้อยละ  75

60.00 70.00
2 เพื่อให้ลดอัตราการเกิดภาวะเสี่ยง ขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ออกติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ให้ฝากครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ /เยี่ยมหญิงตั้งครรภ์เสี่ยง/มารดาหลังคลอดในชุมชน  ให้ความรู้ คำแนะนำในการดูแลสุขภาพและส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสม

60.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 90
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงและมารดาหลังคลอด/สามี/ญาติ

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงและมารดาหลังคลอด/สามี/ญาติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ : มื้อละ 35 บาท  จำนวน 90 คน             เป็นเงิน  6,300    บาท             - ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ : มื้อละ 70 บาท จำนวน 90 คน                         เป็นเงิน  6,300    บาท             - ค่าสมนาคุณวิทยากรอัตรา  300 บาท/ชม. จำนวน 6 ชั่วโมง                เป็นเงิน  1,800    บาท             - ค่าทำป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.5 × 2.0 เมตรๆละ 250 บาท × 1 ผืน        เป็นเงิน   750     บาท             - ค่าวัสดุ/อุปกรณ์                    ปากกา ด้ามละ 5 บาท จำนวน 90 ด้าม                                         เป็นเงิน 450       บาท                    กระดาษ Double A ขนาด A4 รีมละ 160 บาท จำนวน 3 รีม               เป็นเงิน 480       บาท                    แฟ้มพลาสติก (แบบกระดุม) แฟ้มละ 15 บาท จำนวน 90 แฟ้ม              เป็นเงิน 1,350    บาท                                                  รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 17,430 บาท (หนึ่งหมื่นเจ็ดพันสี่ร้อยสามสิบบาทถ้วน)
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และหลังคลอด มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง ผลลัพธ์   -หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยง 5 กลุ่มโรค ,3 กลุ่มโรค PNC (PPH  PIH  Sepsis ตามแนวทางและได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนซ้อนจากโรคในระหว่างการตังครรภ์  ระหว่างคลอดและหลังคลอดหญิงตั้งครรภ์/สามี/ญาติ มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพ  สามารถปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด -หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ  75
-หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์  8 ครั้งตามเกณฑ์ไม่ต่ำร้อยละ  75

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17430.00

กิจกรรมที่ 2 เยี่ยมบ้าน ( โดยผู้ดูแล )

ชื่อกิจกรรม
เยี่ยมบ้าน ( โดยผู้ดูแล )
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เยี่ยมบ้านติดตามมารดาหลังคลอดเพื่อส่งเสริมและให้คำแนะนำในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดจากโรคที่เป็นและให้คำแนะนำที่ถูกต้อง (ไม่เบิกงบประมาณ)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต เพื่อให้ลดอัตราการเกิดภาวะเสี่ยง ขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด ได้อย่างมรประสิทธิภาพ ผลลัพธ์ ทารกแรกคลอดน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม น้อยกว่าร้อย 7

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 17,430.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

-หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยง 5 กลุ่มโรค ,3 กลุ่มโรค PNC (PPHPIHSepsis ตามแนวทางและได้รับการดูแลตามมาตรฐาน ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนซ้อนจากโรคในระหว่างการตังครรภ์ระหว่างคลอดและหลังคลอด-หญิงตั้งครรภ์/สามี/ญาติ มีความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพสามารถปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด
-หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ75-หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์8 ครั้งตามเกณฑ์ไม่ต่ำร้อยละ75 -ทารกแรกคลอดน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม น้อยกว่าร้อย 7


>