กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าถ่าน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตรวจคัดกรองสารพิษในเลือดของเกษตรกร

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าถ่าน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าถ่าน

นางโสภิตยืนทน
นางกุลหญิง เรืองไชย
นางสุภาพ จันทร์เจริญ
นส.คนึงนิจ อินทร์แก้ววงศ์
นส.สุพรรษา งามละออ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าถ่าน หมู่ที่ 1 ตำบลท่าถ่าน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

 

81.00
2 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

4.00
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

 

20.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

81.00 85.00
2 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ

4.00 3.00
3 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

20.00 12.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2017

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองแก่กลุ่มเกษตรกรและประชาชน

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองแก่กลุ่มเกษตรกรและประชาชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าวิทยากรในการอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรและประชาชนกลุ่มเสี่ยงจำนวน 1 วัน 6ชม.ๆละ 600 บาทเป็นเงิน 3,600 บาท 2.ค่าอาหารกลางวันจำนวน 1 มื้อ , อาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 2 มื้อ ผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 100 คนๆละ 140 บาทเป็นเงิน14,000 บาท 3.ค่าวัสดุในการอบรม 2,700 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น จำนวน 3,100 ครัวเรื่อน จากจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 3,828 ครัวเรือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20300.00

กิจกรรมที่ 2 การตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด

ชื่อกิจกรรม
การตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าแถบตรวจเลือด 2กล่องๆละ 750 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนและเกษตรกรได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด จำนวน 100 คน
  2. เกษตรกรที่มีระดับผลเลือดไม่ปลอดภัยได้รับดูแลและการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง ลดลงจาก 4 คนเหลือ 3 คน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนมีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันตนเองในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
2.ชุมชนมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคอันเกิดจากการใช้และการได้รับสารพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช


>