กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด

รพ.สต.บ้านสะพานข่อย

รพ.สต.บ้านสะพานข่อย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไปแนวโน้มสุขภาพที่เพิ่มสูงขึ้น จากสาเหตุโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวานโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคเหล่านี้เป็นปัญหาระดับประเทศและระดับโลก องค์กรอนามัยโลก (WHO) รายงานสถิติประชากรโลกจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 4.7 เป็นร้อยละ 8.5 ส่วนในประเทศไทย จากรายงานสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบว่า อัตราตายด้วยโลกเบาหวานเพิ่มขึ้น ตามลำดับทุกปี นอกจากนี้ ข้อมูลจากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พบว่าประเทศไทยมีค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลโรคเบาหวานจำนวนมาก จังหวัดพัทลุงก็เช่นกันมีอัตราการตายของผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 3.95 ต่ำกว่าในประเทศ อำเภอควนขนุนมีอัตรายตาย ร้อยละ 4.39 และมีแนวโนมผู้ป่วยเบาหวานสูงขึ้นทุกปีในพื้นที่ รพ.สต. สะพานข่อย ผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพ ให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ เพราะจะทำให้ประชาชนมีสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 328
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.คัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป

ชื่อกิจกรรม
1.คัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดซื้อวัสดุแถบตรวจน้ำตาลในเลือด 1.แถบตรวจน้ำตาลในเลือด พร้อมเข็ม จำนวน 1,115 ชิ้นละ 9.60 บาท เป้นเงิน 11,088 บาท 2.ค่าแอลกอฮอล์บอล 20 แผงๆ ละ 4 เป็นเงิน 800 บาท 3.ค่าถ่ายเอกสารกระดาษสี A 4 คำแนะนำการปฎิบัติตัว แจ้งผลการคัดกรอง นัดตรวจซ้ำ จำนวน 1,150 แผ่น เป็นเงิน 1,150 บาท 4. จัดซื้อเครื่องวัดความดันดิจิตอลจำนวน 6เครื่องๆละ 3,500 บาทเป็นเงินจำนวน 21,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2.ปรับเปลียนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองตามหลัก 3อ. 2ส.

ชื่อกิจกรรม
2.ปรับเปลียนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองตามหลัก 3อ. 2ส.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1 จัดทำคู่มือการแล สุขภาพกลุ่มเสี่ยง -ค่าคู่มือการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงจำนวน 328 เล่มๆละ 30 บาท เป็นจำนวนเงิน 9,840 บาท 2.2 จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ 3อ.2ส. -อาหารว่างเครื่องดื่ม 328 คน x 25 บาท เป็นเงิน 8,200 บาท
- ค่าวิทยากร 300 บาท/ชั่วโมง x 3 ชั่วโมง/วัน x 5 วันเป็น 4,500 บาท -ไวนิล โครงการ ไวนิลปิงปองจราจร 7 สี ขนาด 1x3 เมตร ๆละ 200 บาท จำนวน 2 ป้าย เป็นเงิน 1,200 บาท -ค่าวัสดุในการจัดอบรม 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 3. เจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ( ค่า DTX >100 mg / dl )หลังปรับเปลียนพฤติกรรม

ชื่อกิจกรรม
3. เจาะ FBS กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ( ค่า DTX >100 mg / dl )หลังปรับเปลียนพฤติกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.1 จัดทำเอกสารประเมิณความเสี่ยงและแบบสื่อสารความเสี่ยง -เอกสารชุดละ 5 บาท จำนวน 114 ชุดเป็นเงิน 570 บาท 3.2 จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีอายุ 35-65 ปี ที่มีความเสี่ยง CVD risk -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผุ้เข้าร่วมโครงการและผู้จัด จำนวน 114 คนๆละ 25 บาท x 1 มื้อเป็นเงิน 2850บาท
-ค่าวิทยากร 300/ชั่วโมง x 3 ชั่วโมง/เป็นเงิน 900 บาท 3.3 กิจกรรมเยี่ยมบ้านครอบครัวและให้ความรู้รายบุคคล -เครื่องตรวจปริมาณความเค็มในอาหาร 1เครื่อง เป็นเงิน 4,700 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 4.ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมิณสุขภาพเท้าตามแนวทางปฎิบัติ

ชื่อกิจกรรม
4.ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเท้าและตรวจประเมิณสุขภาพเท้าตามแนวทางปฎิบัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารและเครื่องดื่ม 165x25=4,125 บาท -ค่าวิทยากร 300/ชั่วโมง x 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงร้อยละ 95
2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันได้ร้อยละ 60
3.อัตราการเกิดเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 2.4
4.กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ. 2ส.
5.กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX >=100mg/dl )ได้รับการเจาะ FBS ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
6.ผู้เข้าร่วมโครงการมีระดับความเสี่ยง CVD risk ลดลง
7.ผุ้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้าตามเกณฑ์มาตรฐาน ได้รับการส่งต่อในรายที่พบภาวะผิดปกติทางเท้า


>