กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งคลอง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการกลุ่มเสี่ยงปลอดภัย ห่างไกลโรคเรื้อรัง ม.3 ปี 2561

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งคลอง

องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งคลอง

บ้านคำพิมูล ม.3 ต.ทุ่งคลอง อ.คำม่วง จ.กาฬสินธุ์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

 

60.00
2 ร้อยละของการป่วยด้วยโรคอันเนื่องจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น ตับแข็ง มะเร็งหลอดอาหาร

 

30.00
3 ร้อยละ ของการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน

 

40.00
4 ร้อยละ ของการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

 

65.00
5 ร้อยละ ของการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน

 

50.00
6 จำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ (ร้อยละ)

 

50.00
7 จำนวนคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด (คน)

 

3,000.00
8 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

30.00
9 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

 

20.00
10 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

30.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชนลดลงเหลือ(ร้อยละ)

60.00 50.00
2 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคอันเนื่องจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น ตับแข็ง มะเร็งหลอดอาหาร

อัตราการป่วยด้วยโรคอันเนื่องจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น ตับแข็ง มะเร็งหลอดอาหาร ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

30.00 30.00
3 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน

จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ในชุมชนลดลงเหลือ (คน)

30.00
4 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่ในชุมชน

อัตราการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชนลดลงเหลือ(ร้อยละ)

65.00 60.00
5 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน

จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ในชุมชนลดลงเหลือ (คน)

40.00
6 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

จำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ

50.00 70.00
7 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

จำนวนคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด (คน)

3000.00 2500.00
8 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

50.00
9 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

20.00 50.00
10 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

30.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 6
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 58
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมทีมนักจัดการสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมทีมนักจัดการสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-จัดประชุมทีมนักจัดการสุขภาพ ม.3 บ้านคำพิมูล ต.ทุ่งคลอง จำนวน 10 คน -วางแผนการดำเนินงานในการจัดกิจกรรมออกกำลังกายในพื้นที่ชุมชน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-ทีมจัดทีมนักจัดการสุขภาพ ม.3 บ้านคำพิมูล ต.ทุ่งคลอง เข้าร่วมประชุมจำนวน 10 คน -เกิดแผนการปฏืบัติงานในการทำกิจกรรมออกกำลังกายในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมกลุ่มเลี่ยง

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมกลุ่มเลี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวน 64คน50บาท3ครั้ง เป็นเงิน 9,600บาท 2.ค่าสถานที่อบรม500บาท 3.ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดอบรม1,700บาท 4.ค่าวิทยากร4คน300บาท1วันเป็นเงิน1,200บาท 5.ค่าป้ายโครงการ500บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม -เกิดความรู้ ความเข้าใจในกลุ่มผู็เข้าร่วมอบรมในการจัดการความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13500.00

กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทีีมนักจัดการสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวน5คน100บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ทีมนักจัดดการสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้าประชุม จำนวน 5คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

กิจกรรมที่ 4 สรุปโครงการที่จัดทำ

ชื่อกิจกรรม
สรุปโครงการที่จัดทำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ประชุมทีมงานในการสรุปโครงการทุกภาตส่วน -ค่าสรุปโครงการ1,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-เกิดการสรุปโครงการทั้งด้านผลการดำเนินโครงการ งบประมาณ และกิจกรรมต่างๆ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 17,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้การดูแลตนเอง การบริโภคที่หลีกเลี่ยงต่อการเกิดโรค การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองด้วยหลัก 3อ2ส
2.เพื่อปนะชาชนกลุ่มเสี่ยงมีสุขภาพดี ไม่เป็นโรคเรื้อรัง
3.ไม่มีผู้ป่วยเบาวหวาน ความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น
4.กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับบริการตามขั้นตอน ก่อนได้รับการส่งต่อ


>