กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโสก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ วิถีธรรม วิถีไทย จิตสดใส ร่างกายแข็งแรง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโสก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกมั่งงอย

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกมั่งงอย

หมู่บ้านในตำบลบ้านโสก เขตรับผิดชอบ รพ.สต.โคกมั่งงอย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

50.00

จากการสำรวจข้อมูลการมีกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมตำบลบ้านโสก พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ขาดการออกกำลังกาย ไม่มีกิจกรรมทางกาย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

50.00
2 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

50.00

- เพื่อสร้างความตระหนักรู้ มุ่งสู่สุขภาวะทางกาย ใจ สังคม จิตวิญญาณ ของบุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเอง มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ถูกต้อง
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
- เพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2018

กำหนดเสร็จ 31/08/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สุขกาย สบายใจ

ชื่อกิจกรรม
สุขกาย สบายใจ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สุขกาย สบายใจ ทุกหมู่บ้านรณรงค์กิจกรรมตามหลัก 3อ 2ส
- รณรงค์ออกกำลังกาย ทุกวันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์
- รณรงค์อาหารเพื่อสุขภาพ และส่งเสริมครัวเรือนปลูกผักบริโภคเอง - รณรงค์กิจกรรมธรรมะเพื่อสุขภาพ สวดมนต์ นั่งสมาธิ สนทนาธรรม และการปฏิบัติตามนาฬิกาชีวิต - รณรงค์เลิกสูบบุหรี่และดื่มสุรา


งบประมาณ ค่าอาหารและอาหารว่างผู้เข้าอบรม จำนวน 50 คนๆ ละ 100 บาท จำนวน 1 วัน. เป็นเงิน 5,000 บาท
-ค่าวัสดุการอบรม จำนวน 50 คนๆ ละ 25 บาท
เป็นเงิน 1,250 บาท -ค่าตอบแทนวิทยากรการอบรม จำนวน 2 คน จำนวน 1 วันเป็นเงิน 1,200 บาท -ค่าพระวิทยากรธรรมะเพื่อสุขภาพ จำนวน 1 รูป จำนวน 1 วันเป็นเงิน 600 บาท -ค่าชุดไวนิลพร้อมขาตั้งในคลินิก DPAC จำนวน 2 ชุดๆ ละ 650 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9850.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,850.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดี


>