กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการศาสตร์การแพทย์แผนไทย ชลอวัยและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนสามัคคี

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการศาสตร์การแพทย์แผนไทย ชลอวัยและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนสามัคคี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

กลุ่มผู้สูงอายุเทศบาลนครยะลา

1 นางพาอียะยะยา
2 นางซีตีมีเนาะหะยีดือราแม
3 นางแวเสาะหะยีนิแว
4 นางอุสาโสภา
5 นางอำพันรัตนานิกรกาญจน์

เขตเทศบาลนครยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปัจจุบันแนวโน้มของผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปี ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีลักษณะความเป็นอยู่ที่เป็นสังคมเมือง ลูกหลานออกไปทำงานนอกบ้าน ทำให้ผู้สูงอายุในชุมชนต้องเผชิญกับปัญหาหลายด้าน เช่นผู้สูงอายุมีการเสื่อมลงของระบบต่างๆ ภ

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1. เพื่ออบรมส่งเสริมความรู้การแพทย์แผนไทย ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟู สุขภาพ ป้องกันและลดการเจ็บป่วยในผู้สูงอายุ ลดภาวะเสี่ยงติดเตียง
  1. ร้อยละ 100 จำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ
  2. ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพโดยใช้ศาสตร์ การแพทย์แผนไทย
80.00
2 ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านการแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพรพื้นบ้านให้เป็นที่รู้จักกันมากขึ้น
  1. ร้อยละ 80 เข้าถึงการบริการสมุนไพรพื้นบ้าน
80.00
3 ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองมากขึ้น
  1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในการเข้ารับการอบรม
80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 136
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 26/02/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้และมีทักษะการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จำนวน 136 คน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้และมีทักษะการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จำนวน 136 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม จำนวน 136 คน คนละ 30.-บาท จำนวน 2 มื้อ     เป็นเงิน    8,160.-บาท
  2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 136 คน คนละ 80.-บาท จำนวน 1 มื้อ     เป็นเงิน  10,880.-บาท
  3. ค่าสมนาคุณวิทยากร  จำนวน 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600.-บาท            เป็นเงิน   1,800.-บาท
  4. ค่าสมนาคุณวิทยากรกลุ่ม 2 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600.-บาท  จำนวน 3 คน                            เป็นเงิน   3,600.-บาท
  5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ใช้ในการอบรม                                       เป็นเงิน      5,000.-บาท
  6. ค่าจัดจ้างถ่ายเอกสาร           เป็นเงิน  1,000.-บาท                  รวมกิจกรรมที่ 1 เป็นเงิน  30,440.- บาท                    (เงินสามหมื่นสี่ร้อยสี่สิบบาทถ้วน)
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30440.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,440.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
2. ผู้สูงอายุสามารถฟื้นฟูสุขภาพป้องกันโรคตามแนวคิดของการแพทย์แผนไทย ลดการเจ็บป่วย ลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาพยาบาลได้ ลดภาวะเสี่ยงติดเตียง


>