กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คำด้วง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคอุจระร่วงและโรคอาหารเป็นพิษ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คำด้วง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคำด้วง

1. นางกุหลาบสิงห์วงษ์

ตำบลคำด้วงจำนวน6 หมู่บ้าน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ประชาชนทุกวัยได้รับโรคอุจจาระร่วงด้วยอาหารเป็นพิษ

 

30.00

จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขชี้ให้เห็นว่าปัจจุบันพบผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงมีมากกว่าปีละ1ล้านคนสาเหตุเกิดจากการรับประทานและน้ำที่ไม่สะอาดปรเปื้นอเชื้อโรค หรืออาหารบูดเสียและการไม่ล้างมือให้สะอาดก่อนการเตรียมอาหารปรุงอาหารและก่อนกินอาหารรวมทั้งการใช้ภาชนะที่ไม่สะอดาสำนักระบาดวิทยากระทรวงสาธารณสุขรายงานมีผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลสังกัดทั่วประเทศ1,038,770คนเสียชีวิต5คนโดยพบรายงานผู้ป่วยจำนวนมากๆ เช่นในโรงเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสถานที่รับเลี้ยงเด็กรวมทั้งงานเลี้ยงงานบุญ
ปลัดกระทรวงสาธารณสุขแนะนำว่าขอให้ประชาชนยึดหลักกินร้อนใช้ช้อนกลางหมั่นล้างมือหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารปรุงสุกๆ ดิบๆไม่ควรรับประทานที่เก็บไว้ข้ามมื้อโดยเฉพาะอาหารที่เสี่ยงต่อการบูดเสียง่ายทั้งนี้โรคอุจจาระร่วงเป็นโรคที่หายได้เองไม่ต้องใช้ยารักษาเฉพาะไม่ควรซื้อยาปฏิชีวนะกินเองโดยเฉพาะในเด็กเล็กและผู้สูอายุโรคนี้อาจทำให้ช็อกหมดสติและถึงแก่ความตายได้จากการขาดน้ำและเกลือแร่ไปพร้อมกัยอุจจาระจำนวนมาก
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคำด้วงอำเภอบ้านผือจังหวัดอุดรธานีจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคอุจาระร่วงและโรคอาหารเป็นพิาขึ้นเพื่อลดอัราป่วยที่เกิดจากโรคอุจจาระร่วงและอาหารเป็นพิาในเขตพื้นที่รับผิดชอบพัฒนาระบบการเฝ้าระวังป้องกันโรคอุจจาระร่วงและโรคอาหารเป็นพิษให้มีประสทิธิภาพต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชนทุกวัยได้รับโรคอุจจาระร่วงด้วยอาหารเป็นพิษ

 

20.00

1. เพื่อลดอัตราป่วยที่เกิดจากโรคอุจจาระร่วงและโรคอาหารเป็นพิษลดลงร้อยละ
2. เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังป้องกันโรคอุจจาระร่วง และโรคอาหารเป็นพิษในประชาชนในเขตรับผิดชอบให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผลมากขึ้น

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2017

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคอุจระร่วงและโรคอาหารเป็นพิษ

ชื่อกิจกรรม
โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคอุจระร่วงและโรคอาหารเป็นพิษ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีการดำเนินงาน 1. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  อบต.  โรงเรียน ชุมชน  รพ.สต. และอื่นๆ ร่วมกันวางแผนดำเนินการ 2. ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์  เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรค  โรคอุจจาระร่วงและโรคอาหารเป็นพิษในประชาชนในเขตรับผิดชอบให้มีประสิทธิภาพ  ประสิทธิผลมากขึ้น

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. มีอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงและโรคอาหารเป็นพิษลดลง
  2. มีระบบเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ชัดเจนเห็นผลมีประสิทธิภาพ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 3,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. มีอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงและโรคอาหารเป็นพิษลดลง
2. มีระบบเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ชัดเจนเห็นผลมีประสิทธิภาพ


>