กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลศรีบัวบาน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลศรีบัวบาน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านหนองหล่ม

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านหนองหล่ม

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

30.00
2 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

 

30.00
3 ร้อยละของครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์

 

30.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

30.00 20.00
2 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

30.00 20.00
3 เพิ่มครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์

ร้อยละของครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์

30.00 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 64
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/04/2018

กำหนดเสร็จ 30/04/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการสร้างความรู้สู่ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
โครงการสร้างความรู้สู่ชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รายละเอียดโครงการ 1.การดำเนินการ ระยะที่ 1
ระดับที่ 1 จัดทาโครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน
1. ประชุมชี้แจง นโยบายและแนวทางการดำเนินงานให้กับ กลุ่มผู้นาชุมชน อปท. และอสม.ทุกหมู่บ้านทราบ
2. แต่งตั้งคณะกรรมการในชุมชน
3. สรุปรายการประชุม
4. ประชาสัมพันธ์โครงการในชุมชนให้ประชาชนได้รับรู้
ระดับที่ 2 จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพการใช้ยาของครัวเรือนและโรงเรียน
1. จัดเตรียมเอกสารในการดำเนินงาน เอกสารในการประชุม เอกสารการอบรม
2. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะและสเตียรอยด์ เครื่องสำอางค์ ในชุมชนแก่กลุ่ม ผู้นำชุมชน อปท.
อสม. เจ้าของร้านชำ และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เป็นกลุ่มเสี่ยง อบรมโดยเจ้าหน้าสาธารณสุข
3. ประเมินผลการให้ความรู้หลังการอบรม
การดำเนินการระยะที่ 2
ระดับที่ 3 จัดกิจกรรมเฝ้าระวังและควบคุมการกระจายยาในชุมชน
1.ดำเนินการออกสำรวจร้านขายยา คลินิก ร้านชำซึ่งเป็นแหล่งกระจายยาในชุมชนเพื่อทาทะเบียน ร่วมกับ อสม.นักเรียน อย.น้อย เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านหนองหล่ม
2.ดำเนินการเฝ้าระวังการกระจายยาในชุมชน โดยการออกตรวจแหล่งกระจายยาและให้คำแนะนำแก่ผู้ประกอบการ ร่วมกับ อสม.เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านหนองหล่ม
3.สรุปผลการตรวจแหล่งกระจายยา
ระดับที่ 4 คัดกรองผู้ป่วยที่ได้รับอันตรายจากการใช้ยาและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่เหมาะสม
ระยะคัดกรองปัญหา
1.สำรวจพฤติกรรมการใช้ยาของคนในครัวเรือนที่มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง อายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 50
ครัวเรือน ร่วมกับ อสม.เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านหนองหล่ม 2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยาของครัวเรือนที่พบปัญหาการใช้ปฏิชีวนะและยาสเตียรอยด์ และแก้ไขปัญหาในการใช้ยา ร่วมกับ อสม.เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านหนองหล่ม 3. คัดครองและส่งต่อผู้ที่มีความเสี่ยงหรือได้รับอันตรายจากปฏิชีวนะและยาสเตียรอยด์
4.สรุปปัญหาจากการสำรวจการใช้ยา และตรวจสารอันตรายในเครื่องสำอางค์ในชุมชน
ระยะดำเนินการเยี่ยมติดตามปัญหา
1.ออกเยี่ยมบ้านที่มีปัญหาในการใช้ปฏิชีวนะและยาสเตียรอยด์ จานวน 6 ครัวเรือนที่พบปัญหา ร่วมกับ อสม.เจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านหนองหล่ม

งบประมาณ 1.ค่าอาหารว่างสำหรับประชุมชี้แจง นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน จำนวน  24  คน จำนวน 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท
เป็นเงิน 600 บาท 2.ค่าอาหาร จำนวน 64 คน คนละ 80 บาท เป็นเงิน 5,120  บาท 3.ค่าอาหาร จำนวน 64 คน มื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 3,200  บาท 4.ชุดทดสอบเครื่องสำอางจำนวน 3 ชนิด เป็นเงิน 3,600 บาท 5. ค่าเอกสารในการดำเนินงาน 1,000 บาท 6. ค่าตอบแทนวิทยากรในการอบรมจำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท รวมเป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น  17,120 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17120.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 17,120.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ภาคีเครือข่ายเกิดความตะหนักถึงสภาพปัญหาการใช้ยาในชุมชน
2. ภาคีเครือข่ายให้มีความรู้เกี่ยวกับยาปฏิชีวนะและยา
สเตียรอยด์
3. ภาคีเครือข่ายสามารถบอกต่อความรู้และใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
4. ภาคีเครือข่ายเกิดการรณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการให้เป็นที่รับรู้ของคนในชุมชน
5. แหล่งกระจายยาที่มีความเสี่ยงได้รับตรวจและเฝ้าระวัง
6. ผู้ป่วยเรื้อรังกลุ่มเป้าหมายได้รับการสำรวจพฤติกรรมการใช้ยาในครัวเรือน
7. ผู้ป่วยเรื้อรังกลุ่มเป้าหมายได้รับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยา
8. ผู้ป่วยเรื้อรังกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองและส่งต่อผู้ที่มีความเสี่ยงหรือได้รับอันตรายจากการใช้ยาเข้าสู่การรักษาที่เหมาะสม


>