กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรณรงค์ ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลฉลุง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง

รพ.สต.ต.ฉลุง

นางรำจวนระฆังทอง
นายธีรยุทธ์บินสอาด

หมู่ที่ 1,2,3,4,10,11,12,13

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)

 

40.00
2 จำนวนประชากรที่ป่วยเป็นโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (คน)

 

20.00

โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุ ตั้งแต่ ๕-๑๔ ปี รองลงมาคือ เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กโตตามลำดับ ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปี ช่วงเวลาที่พบมากที่สุดคือช่วงฤดูฝน ปี ๒๕๖๐ ตั้งแต่เดือน มกราคม– ธันวาคม๒๕๖๐ มีรายงานผู้ป่วย ๒๘ราย ในปี ๒๕๖๑ ตั้งแต่ เดือนมกราคม – มิถุนายน พบผู้ป่วย๒๑ ราย อีกทั้งยังมีแนวโน้มการระบาดของโรค ชิคุนกุนยา อำเภอเมืองสตูล เริ่มมีผู้ป่วยตั้งแต่เดือน พฤษภาคม – กรกฎาคม ๒๕๖๑จำนวน ๑๙๗ ราย และมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นเรื่อยๆ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุ

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ในทุกกลุ่มอายุ

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/08/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยแมลงในเขตตำบลฉลุง

ชื่อกิจกรรม
ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยแมลงในเขตตำบลฉลุง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกแบ่งเป็น ๒ ระยะ ระยะที่ ๑ การป้องกันโรคไข้เลือดออกช่วงระยะก่อนระบาดกรกฎาคม - จัดกิจกรรมให้ความรู้ อสม. - สำรวจหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ ทุกเดือนโดย อสม. - ให้สุขศึกษาแก่ประชาชน - รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ระยะที่ ๒ การป้องกันโรคไข้เลือดออกช่วงระบาด สิงหาคม – กันยายน
- สำรวจหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ โดยดำเนินการดังนี้ • ทุก ๗ วัน ทุกหลังคาเรือน ในพื้นที่พบผู้ป่วยซ้ำซากโดย อสม. • ทุกเดือน ทุกหลังคาเรือน ในพื้นที่ปกติ โดย อสม. - ให้สุขศึกษาแก่ประชาชน - รณรงค์แหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย • นัดวันเวลารณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย • ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย และหอกระจายข่าวในชุมชน - พ่นสารเคมี ฆ่ายุงตัวแก่ในรัศมี ๑๐๐ เมตรจากบ้านผู้ป่วยให้มันเวลา ตามระยะเวลาการควบคุมโรค - ค้นหาผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ส่งต่อเพื่อรับการรักษา

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.ประเมินผลการดำเนินงานในแต่ละช่วงของการรณรงค์ โดยประเมินจากค่า HI,CI
๑.๑ ควบคุมลูกน้ำ ในโรงเรียนค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายCI = ๐ ๑.๒ ควบคุมลูกน้ำยุงลายในชุมชน ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย HI ไม่เกิน ๑๐ ๒.ประเมินผลอัตราป่วยในแต่ละหมู่บ้าน ๓.ประเมินผลการควบคุมโรคในพื้นที่ ๓.๑ ความทันเวลาในการควบคุมแหล่งแพร่โรค ๓.๒ ความคลอบคลุมในการควบคุมแหล่งแพร่โรค ๓.๓ ควบคุมโรคให้สงบภายใน ๒ Generation (ไม่เกิน ๒๘ วัน) นับจากวันเริ่มป่วยในรายแรก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
57000.00

กิจกรรมที่ 2

ชื่อกิจกรรม
ระบุชื่อกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

xxxxx

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 62,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>