กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการเฝ้าระวังป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เขตพื้นที่ตำบลปาล์มพัฒนา ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2561

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปาล์มพัฒนา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เขตพื้นที่ตำบลปาล์มพัฒนา ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2561

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปาล์มพัฒนา

โรงพยาบาลมะนัง

1. แพทย์หญิงอมรรัตน์ มุขวัลย์
2. นางนอร่า สัญญา
3.นายปรัชญา เสียมไหม
4. นางสาวนูริลฮูสนา มาลินี
5. นางสาวดรุณี โสสนุ้ย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 มีอัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคนในเด็กต่ำกว่า 15 ปี

 

3.00
2 อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคน ในเด็กต่ำกว่า 15 ปี 2560

 

6.10
3 อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคน ในเด็กต่ำกว่า 15 ปี 2560 จังหวัดสตูล

 

7.90

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ทราบสถานการณ์ความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า15 ปี

อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคน ในเด็กต่ำกว่า 15 ปี ลดลง ร้อยละ

80.00
2 เพื่อให้ประชาชนมีทักษะเอาชีวิตรอดในน้ำและการ CPR ให้แก่คนในชุมชน

ประชาชนมีทักษะเอาชีวิตรอดในน้ำและการ CPR ให้แก่คนในชุมชนได้

60.00
3 เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงมีทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ

เด็กกลุ่มเสี่ยงมีทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและลดอัตราการเสียชีวิตในเด็กต่ำกว่า 15 ปี

80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 รณรงค์จัดการด้านความปลอดภัยแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชนและครัวเรือน อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการจมน้ำ และการ CPR ให้แก่คนในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์จัดการด้านความปลอดภัยแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชนและครัวเรือน อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการจมน้ำ และการ CPR ให้แก่คนในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชาชนในหมู่ 1-10 หมู่ละ 50 คนๆละ 25 บาท X 500 คน จำนวน 12,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12500.00

กิจกรรมที่ 2 ด้านการประชาสัมพันธ์สื่อสารกับประชาชนในพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
ด้านการประชาสัมพันธ์สื่อสารกับประชาชนในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.2 เมตร x 2.5 เมตร จำนวน 10 ป้าย ๆละ 432 บาท (ติดตั้งตามแหล่งน้ำสาธารณะจุดเสี่ยงในชุมชน 10 แห่ง) จำนวน 4,320 บาท
  • ค่าจัดทำโครงเคร่าไม้พร้อมติดตั้งขนาด 1.2 เมตร x2.4 เมตร จำนวน 10 ป้ายๆละ 1,719 บาท (ติดตั้งตามแหล่งน้ำสาธารณะจุดเสี่ยงในชุมชน 10 แห่ง) จำนวน 17,190 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21510.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 34,010.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ทราบถึงสถานการณ์ความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บในเด็กต่ำกว่า 15 ปี
2. มีทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker )ในจังหวัดสตูลครอบคลุมทุกอำเภอ อย่างน้อย 1 ทีมต่ออำเภอ
3. แหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชนได้รับการจัดการด้านความปลอดภัยอย่างน้อย 3 แห่ง
4. เด็กกลุ่มเสี่ยงและประชาชนได้รับการฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและการ CPR อย่างน้อย 500 คน
5. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ลดลง


>