กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคำม่วง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ลด ละ เลิก เพื่อภาวะสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคำม่วง

เทศบาลตำบลคำม่วง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุรา

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน(อายุไม่เกิน 25 ปี)ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

 

15.00
2 ร้อยละของผู้ใหญ่(อายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป)ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

 

25.00
3 จำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี(คน)

 

5.00
4 จำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ที่เป็นสตรี(คน)

 

5.00
5 ปริมาณการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อสัปดาห์ของประชาชนในชุมชนตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป (มิลลิลิตร)

 

2.00
6 จำนวนผู้ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์(คน)

 

2.00
7 ร้อยละของการได้รับการบริการคัดกรองและการบำบัดรักษา ของผู้ที่มีปัญหาจากสุราในชุมชน

 

2.00
8 ร้อยละของการป่วยด้วยโรคอันเนื่องจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น ตับแข็ง มะเร็งหลอดอาหาร

 

2.00
9 จำนวนการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนต่อปีอันเนื่องมาจากเมาแล้วขับ(ครั้ง)

 

5.00
10 จำนวนการเกิดเหตุความรุนแรงในชุมชนต่อปี เช่น ทะเลาะวิวาท การทำร้ายร่างกาย และการคุกคามทางเพศ ที่เป็นผลมาจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์(ครั้ง)

 

10.00
11 ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาบริโภค (บาท)

 

42,000.00
12 จำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์(ร้าน)

 

10.00
13 ยอดขายเฉลี่ยต่อเดือนของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนทั้งในช่วงปกติและในช่วงเทศกาล(บาท)

 

130,000.00
14 จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน(คน)

 

10.00
15 เพื่อลดยอดขายเฉลี่ยต่อวันของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนทั้งในช่วงปกติและในช่วงเทศกาล(บาท)

 

30,000.00
16 จำนวนรูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน(กิจกรรม/นวัตกรรม)

 

1.00
17 จำนวนมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน (มาตรการ)

 

1.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี

อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

15.00 10.00
2 เพื่อลดอัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป

อัตราการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

25.00 10.00
3 เพื่อลดจำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี

จำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(คน)

5.00 2.00
4 เพื่อลดจำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ที่เป็นสตรี

จำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์รายใหม่ที่เป็นสตรี ลดลงเหลือ(คน)

5.00 3.00
5 เพื่อลดปริมาณการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อสัปดาห์ของประชาชนในชุมชนตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป

ปริมาณการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อสัปดาห์ของประชาชนในชุมชนตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป ลดลงเหลือ(มิลลิลิตร)

2.00 1.00
6 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

จำนวนผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ปัจจุบัน ทั้งดื่มประจำและครั้งคราว ที่ต้องการลด ละ และเลิกดื่ม เพิ่มขึ้นเป็น(คน)

2.00 10.00
7 เพื่อเพิ่มอัตราการได้รับการบริการคัดกรองและการบำบัดรักษา ของผู้ที่มีปัญหาจากสุราในชุมชน

อัตราการได้รับการบริการคัดกรองและการบำบัดรักษา ของผู้ที่มีปัญหาจากสุราในชุมชนเพิ่มขึ้นเป็น(ร้อยละ)

2.00 10.00
8 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคอันเนื่องจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น ตับแข็ง มะเร็งหลอดอาหาร

อัตราการป่วยด้วยโรคอันเนื่องจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เช่น ตับแข็ง มะเร็งหลอดอาหาร ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

2.00 1.00
9 เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนต่อปีอันเนื่องมาจากเมาแล้วขับ

จำนวนการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนต่อปีอันเนื่องมาจากเมาแล้วขับลดลงเหลือ(ครั้ง)

5.00 3.00
10 เพื่อลดการเกิดเหตุความรุนแรงในชุมชนต่อปี เช่น ทะเลาะวิวาท การทำร้ายร่างกาย และการคุกคามทางเพศ ที่เป็นผลมาจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

จำนวนการเกิดเหตุความรุนแรงในชุมชนต่อปี เช่น ทะเลาะวิวาท การทำร้ายร่างกาย และการคุกคามทางเพศ ที่เป็นผลมาจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ลดลงเหลือ(ครั้ง)

10.00 8.00
11 เพื่อลดค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาบริโภค

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาบริโภค ลดลงเหลือ (บาท)

42000.00 30000.00
12 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

จำนวนร้านค้าชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายในการจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)

10.00 20.00
13 เพื่อลดยอดขายเฉลี่ยต่อเดือนของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน (ในช่วงปกติ และในช่วงเทศกาล)

ยอดขายเฉลี่ยต่อเดือนของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน (ในช่วงปกติ และในช่วงเทศกาล)
ลดลงเหลือ(บาท)

130000.00 20000.00
14 เพื่อเพิ่มจำนวนรูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

รูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น (กิจกรรม/นวัตกรรม)

1.00 2.00
15 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน

มาตรการชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชนมีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น(มาตรการ)

1.00 2.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2019

กำหนดเสร็จ 30/08/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมประชาคมคณะกรรมการ (ศพค.)

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมประชาคมคณะกรรมการ (ศพค.)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม ได้แก่
-การจัดกิจกรรมประชุมประชาคมคณะกรรมการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้คณะกรรมการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 2 แต่งตั้งคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
แต่งตั้งคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม ได้แก่ -จัดตั้งทีมเฝ้าระวังสำรวจและค้นหากลุ่มเสี่ยงหรือพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุม

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีมาตรการและทีมฝนการเฝ้าระวัง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ กลุ่มเสี่ยงเยาวชน วัยทำงาน วัยสูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ กลุ่มเสี่ยงเยาวชน วัยทำงาน วัยสูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม ได้แก่ -อบรมให้เด็กและเยาวชน วัยทำงาน วัยสูงอายุ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เยาวชน วัยทำงาน ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจมากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ลดจำนวนผู้อื่มรายใหม่ในชุมชน ลดการเกิดอุบัติเหตุในชุมชน


>