กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงดิน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ชาวตำบลกำแพงดินเลือกอาหารปลอดภัยบริโภค โรคภัยไม่มี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงดิน

ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลกำแพงดิน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

 

76.00
2 ร้อยละของครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์

 

85.00
3 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

69.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

76.00 80.00
2 เพิ่มครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์

ร้อยละของครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์

85.00 90.00
3 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ

69.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/10/2018

กำหนดเสร็จ 30/04/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ตรวจสารเคมีตกค้างในพืช ผัก ผลไม้

ชื่อกิจกรรม
ตรวจสารเคมีตกค้างในพืช ผัก ผลไม้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชาสัมพันธ์รับตรวจสารเคมีตกค้างในพืช ผัก ผลไม้ที่ประชาชนในพื้นที่ผลิต หรือซื้อมาบริโภค โดยสมาชิกชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลกำแพงดิน   - ออกตรวจสารเคมีตกค้าง จำนวน 2 จุดๆ ละ 1 วัน (ค่าเบี้ยเลี้ยคนตรวจจำนวน 5 คนๆ ละ 160 บาท จำนวน 2 วัน = 1,600 บาท  / ค่าอาหารและน้ำดื่ม คนละ 200 บาท จำนวน 5 คน 2 วัน เป็นเงิน 2,000 บาท) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 3,600 บาท     (ค่าวัสดุ/น้ำยาตรวจ เป็นเงิน 2,000 บาท)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

พืช ผัก ผลไม้ที่เกษตรกร หรือประชาชน ผลิตหรือบริโภค ได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้าง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5600.00

กิจกรรมที่ 2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเกษตรผู้ผลิต ผู้ค้า กับผู้บริโภคทั่วไป

ชื่อกิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเกษตรผู้ผลิต ผู้ค้า กับผู้บริโภคทั่วไป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มเกษตรผู้ผลิต ผู้ค้า กับผู้บริโภคทั่วไป จำนวน   200  คน  (ค่าอาหารและน้ำดื่มคนละ 200 บาท/คน = 40,000 บาท  ค่าตอบแทนผู้นำการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 5 คนๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เกิดเครือข่ายกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้บริโภค
  2. มีมาตรการเฝ้าระวังการใช้สารเคมีในชุมชน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
42500.00

กิจกรรมที่ 3 กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ออกสุ่มแปลงผลิต / แผงลอย ร้านค้า / โรงเรียน / ครัวเรือน(ค่าเบี้ยเลี้ยงคนตรวจ จำนวน 5 คนๆ ละ 240 บาท จำนวน3วัน เป็นเงิน 3,600 บาท / ค่าพาหนะเหมาจ่ายในการเดินทางในพื้นที่จำนวน 5 คนๆ ละ 100 บาท 3 วัน เป็นเงิน 1,500 บาท)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต พืชผักสำหรับจำหน่าย และบริโภค ที่ได้รับการสุ่มตรวจ อยู่ในระดับปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5100.00

กิจกรรมที่ 4 คืนข้อมูลสรุปผลการดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
คืนข้อมูลสรุปผลการดำเนินโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดเวทีคืนข้อมูลสรุป และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินโครงการ (ค่าอาหารและน้ำดื่ม จำนวน 50 คนๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท  ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ 3 ป้ายๆ ละ 1,000 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เครือข่ายกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้บริโภค ได้รับข้อมูลและช่วยสื่อสารประชาสัมพันธ์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 66,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนมีอาหารที่ปลอดภัยบริโภคในชุมชนอย่างเพียงพอ


>