กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมืองเก่า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการผู้สูงวัย กายใจดี ชีวีมีสุขตำบลเมืองเก่า

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมืองเก่า

ชมรมผู้สูงอายุตำบลเมืองเก่า

นางโกสุม วรรณราช
นางสาววิภารัตน์ วรรณราช
นายอมรมิตร เขียวขำ
นายสุทธิพงษ์แสงเพิ่ม
นางสาวพิมพ์ชนก วงศรีแก้ว

รพ.สต.เมืองเก่า หมู่ที่ 4 ต.เมืองเก่า อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

20.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

70.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

20.00 30.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

70.00 80.00
3 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

95.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 09/06/2018

กำหนดเสร็จ 02/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมการดดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ด้วย 3 อ 2ส

ชื่อกิจกรรม
อบรมการดดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ด้วย 3 อ 2ส
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมกลุ่มเป้าหมาย ด้วย 3 อ2 ส ในการออกกำลังกาย

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุได้รับการออกกำลังกาย จำนวน 12 ครั้งๆละ  60 คน / ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
111000.00

กิจกรรมที่ 2 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุติดสังคม เดือนละ 1 ครั้ง ครั้งละ 60 คน จำนวน 12 ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคแก่ผู้สูงอายุติดสังคม เดือนละ 1 ครั้ง ครั้งละ 60 คน จำนวน 12 ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประสานทีมหมอครอบครัวในการสำรวจปัญหาความต้องการด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วม กิจกรรม  ครั้งละ 60 คน  เดือนละ 1 ครั้ง  จำนวน 12 ครั้ง    /ผู้สูงอายุมีความรู้ ความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสมและไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 111,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)เป้าหมาย 1 ปี = 30
ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) เป้าหมาย 1 ปี = 80


>