กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรู้เร็ว ปรับเปลี่ยนทัน ห่างไกลเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาพระ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาพระ หมู่ที่ 4

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาพระ หมู่ที่ 4

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาพระ หมู่ที่ 4

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อค้นหาผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงในพื้นที่ 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 3.เพื่อส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลื่อด/ความดันโลหิตได้พบแพทย์ได้รับการรักษา 4.เพื่อให้เกิดกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทุกหมู่บ้าน เช่น กิจกรรมการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพของคนในหมู่บ้าน

1.กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการประเมินว่ามีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2.กลุ่มป่วยได้รับบริการรักษา และส่งต่อพบแพทย์ ร้อยละ 100 และได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน พร้อมทั้งได้รับการสนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม

88000.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการรู้เร็ว ปรับเปลี่ยนทัน ห่างไกลเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี2562

ชื่อกิจกรรม
โครงการรู้เร็ว ปรับเปลี่ยนทัน ห่างไกลเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี2562
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.กิจกรรมการคัดกรองค้นหาผุ้ป่วย/กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 1.1ดำเนินการคัดกรองในพื้นที่ทั้ง 7 หมู่ในเขตรับผิดชอบ โดยมี อสม. และเจ้าหน้าที่ร่วมในการดำเนินการคัดกรอง 2.จัดกิจกรรมสัญจรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2.1ให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ในพื้นที่ทุกหมู่บ้าน รวม 7 หมู่บ้าน 2.2สัญจรติดตามกลุ่มเสี่ยงทุกรายโดย อสม.และจนท. ติดตามซ้ำในรายที่ไม่สามารถควบคุมระดับความเสี่ยงได้ 3.ส่งต่อพบแพทย์ในกลุ่มเสี่ยงที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินเกณฑ์ 4.จัดกิจกรรมหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4.1ดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงในทุกหมู่บ้านที่รับผิดชอบโดย จนท.จะลงประเมินผลงานในพื้นที่ แต่ละหมู่บ้าน 5.กลุ่มเสี่ยงที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ด้วยตนเองจัดให้เข้าคลินิก DPAC
6.ติดตามสนับสนุน ประเมินผล งบประมาณ -แถบตรวจ 80 กล่อง x 850 บาท = 68000 บาท -เข็มเจาะ 20 กล่อง x 750 บาท = 15000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 คน x 25 บาท x 1 วัน = 2500 -ค่าสื่อความรู้/แผนพับสื่อประชาสัมพันธ์ = 2500 บาท รวม 88000

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
88000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 88,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ค้นพบประชากรกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยรายใหม่ และส่งต่อผู้ป่วยเพื่อการวินิจฉัยที่ถูกต้อง
2.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
3.ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องและประชากรกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
4ติดตาม/เยี่ยมผู้ป่วย ให้คำแนะนำได้อย่างต่อเนื่อง
5.ลดอัตราการป่วยในชุมชนและภาวการณ์เสี่ยงเปลี่ยนโรคความดันและเบาหวาน


>