กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ชาวหนองบัว ห่วงใย ใส่ใจ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม

อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านหนองบัว

1.นายอับดุลหร้อซักฮ์ จันทการักษ์
2.นางงามตา เพชรบุรี
3.นางนัยนา เหมอรัญ
4.นางแฉล้ม รักชูชื่น
5.นางปาริต้าร์ หลับจันทร์

หมู่ที่ 5 บ้านหนองบัว บ้านท่าข้าม

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคเรื้อรัง (chronic disease) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าโรคไม่ติดเชื้อ ซึ่งได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคข้อเข่าเสื่อม ฯลฯ เป็นโรคที่เมื่อเป็นแล้วจะมีอาการหรือต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะเวลานาน โดยโรคเรื้อรังมักเกิดจากสาเหตุหลายประการซึ่งส่วนใหญ่ร้อยละ 90 เกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารหวาน มัน เค็ม กินผักน้อย ขาดการออกกาลังกาย น้าหนักตัวเกิน สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า เป็นต้น ดังนั้นคนที่มีพฤติกรรมการดาเนินชีวิตเช่นนี้จึงมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคได้มากกว่าคนอื่นๆ และนอกจากนี้อีกร้อยละ 10 เกิดจากพันธุกรรม (นิทรา, 2016) ซึ่งในประเทศไทยพบว่าประชากรที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป มีจานวนผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน 1,565,640 คน และเป็นโรคความดันโลหิตสูง 3,524,083 คน (HDC, 2018) ซึ่งในปี 2555-2558 มีแนวโน้มอัตราตายด้วยโรคเบาหวาน เพิ่มขึ้นจาก 12.1 ต่อแสนประชากร เป็น 19.4 ต่อแสนประชากร และพบการเพิ่มขึ้นของอัตราตายจากภาวะความดันโลหิตสูง จาก 5.7 ต่อแสนประชากร เป็น 12.1 ต่อแสนประชากร (สานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2559)
จากฐานข้อมูล JHCIS จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลท่าข้าม ปี 2560 พบว่าหมู่ที่ 5 บ้านหนองบัว ตาบลท่าข้าม อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีผู้เป็นโรคเบาหวาน จานวน 51 ราย จากประชากรกลุ่มเสี่ยง 574 ราย คิดเป็นอัตราความชุกของโรคเป็นร้อยละ 8.89 และคิดเป็นอัตราตายเฉพาะโรค ร้อยละ 1.96 โดยสาเหตุการตายจากโรคเบาหวานส่วนใหญ่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของโรค เช่น การติดเชื้อในกระแสเลือด การเป็นโรคไตเรื้อรัง (สานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2559) และมีผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูง จานวน 197 ราย จากประชากรกลุ่มเสี่ยง 574 ราย คิดเป็นอัตราความชุกร้อยละ 34.32 และคิดเป็นอัตราตายเฉพาะโรคร้อยละ 1.52 ซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของหมู่บ้าน ความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญของโรคหลอดเลือดหัวใจและเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญที่สุดของโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) และภาวะความดันโลหิตสูงยังเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดหลอดเลือดสมองแตก (สานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2559)
จากการเก็บข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้แบบประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ จานวน 41 ราย สารวจเมื่อวันที่ 19-20 กันยายน พ.ศ. 2561 พบว่า ผู้สูงอายุในหมู่บ้านส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อภาวะสุขภาพอยู่ในระดับน้อย จานวน 21 ราย จากทั้งหมด 41 ราย คิดเป็นร้อยละ 51.22 ซึ่งขัดแย้งกับข้อมูลดัชนีมวลกายที่พบว่า ผู้สูงอายุในหมู่บ้านส่วนใหญ่มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์อ้วน จานวน 11 ราย จากทั้งหมด 41 ราย คิดเป็นร้อยละ 36.59 ซึ่งสัมพันธ์กับข้อมูลการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพที่พบว่า ผู้สูงอายุในหมู่บ้านส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพอยู่ในระดับน้อย จานวน 28 ราย จาก 41 ราย คิดเป็นร้อยละ 68.29
จากข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นว่าผู้สูงอายุในชุมชนในหมู่ที่ 5 บ้านหนองบัวส่วนใหญ่ มีการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ในการบริโภคอาหารที่เหมาะสมแต่ขาดการปฏิบัติตัวในการควบคุมโรค จากการทาประชาคมในวันที่ 26 กันยายน 2561 โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 38 คน ประกอบไปด้วยตัวแทนจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน และตัวแทนชาวบ้านหมู่ที่ 5 ได้มีมติร่วมกันในการแก้ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังของคนในชุมชน ทางกลุ่มนักศึกษาร่วมกับชุมชน จึงได้จัดทาโครงการ “ชาวหนองบัว ห่วงใย ใส่ใจ โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง” เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง ซึ่งจะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นที่เป็นสาเหตุการตาย ลดภาระทางด้านการรักษาพยาบาล และเพื่อช่วยให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีช่วยพัฒนาประเทศต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

ข้อที่ 1 เพื่อตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในผู้ที่เข้าร่วมโครงการ
ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และมีทักษะการออกกาลังกายที่เหมาะสมกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2018

กำหนดเสร็จ 30/11/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรม ประชาสัมพันธ์โครงการ

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรม ประชาสัมพันธ์โครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 แจกใบปลิวให้กับประชนชนในหมู่บ้าน 1.2 ติดป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ค่าถ่ายเอกสารขาว - ดา จานวน 150แผ่น แผ่นละ 0.5 บาท รวม 75 บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการ 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
575.00

กิจกรรมที่ 2 2. กิจกรรม ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
2. กิจกรรม ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าถ่ายเอกสารขาว-ดา จานวน 10 แผ่น แผ่นละ 0.50 บาท รวม 5 บาท
  • ค่าอาหารว่าง จานวน 60 คน คนละ 25 บาท รวม 1,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1505.00

กิจกรรมที่ 3 3. กิจกรรม ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในผู้ที่เข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
3. กิจกรรม ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในผู้ที่เข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 ชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง และประเมินดัชนีมวลกาย 1.2 เจาะน้าตาลปลายนิ้ว 1.3 วัดความดันโลหิต พร้อมกับแจกแผ่นพับให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง
- ค่าถ่ายเอกสารขาว-ดา จานวน 120 แผ่น แผ่นละ 0.50 บาท รวม 60 บาท 3.1 กิจกรรม “รอบรู้เรื่องเบาหวานและความดันโลหิตสูง” ค่าวัสดุ - กระดาษสี แผ่นละ 10 บาท จานวน 18 แผ่น รวม 180 บาท - กระดาษพัสดุ แผ่นละ 7 บาท จานวน 10 แผ่น รวม 70 บาท - ฟิวเจอร์บอร์ด จานวน 10 แผ่น แผ่นละ 30 บาท รวม 300 บาท - เทปโฟม ม้วนละ 135 จานวน 2 ม้วน รวม 270 บาท - เทปกาวสองหน้า ม้วนละ 35 บาท จานวน 5 ม้วน รวม 175 บาท - เทปใส ม้วนละ 25 บาท จานวน 2 ม้วน รวม 50 บาท - ปากกาสี 12 สี จานวน 1 กล่อง กล่องละ 80 บาท รวม 80 บาท - ห่วงทอง 4 ห่วง ห่วงละ 5 บาท รวม 20 บาท - อุปกรณ์ตกแต่ง รวม 300 บาท - พลาสติกใส 1 ม้วน ราคา 150 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1655.00

กิจกรรมที่ 4 4. กิจกรรม “บันไดงู...รู้เรื่องโรค”

ชื่อกิจกรรม
4. กิจกรรม “บันไดงู...รู้เรื่องโรค”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.1 โดยจัดกิจกรรมนันทนาการและตอบคาถามเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยใช้เกมส์บันไดงู ค่าใช้สอย - ค่าไวนิลเกมส์บันไดงู 1,000 บาท - กระดาษสี แผ่นละ 10 บาท จานวน 2 แผ่น รวม 20 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1020.00

กิจกรรมที่ 5 5. กิจกรรม “SKT ยืดอายุ”

ชื่อกิจกรรม
5. กิจกรรม “SKT ยืดอายุ”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

5.1 ทากายบริหารด้วยสมาธิบาบัด SKT ค่าใช้สอย - ค่าโปสเตอร์ท่ากายบริหารด้วยสมาธิบาบัด SKT ขนาด A3 จานวน 40 แผ่น แผ่นละ 30 บาท รวม 1,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 5,955.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนในชุมชนได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
2. ประชาชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมกับโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
3. ประชาชนมีทักษะการออกกาลังกายที่สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
4. อัตราการเกิดโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงประชาชนในชุมชนลดลง
5. ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในประชาชนที่เป็นโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง


>